รูปแบบการจัดการโลจิตติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดย่อม
Item
ชื่อเรือง
รูปแบบการจัดการโลจิตติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดย่อม
ชื่อเรื่องรอง
LOGISTICS MANAGEMENT MODEL FOR THE HALAL MEAT PROCESSING FOOD IN SMALL AND MEDIUM INDUSTRIES.
ผู้แต่ง
สร้อยสุดา เลาะหมุด
หัวเรื่อง
อาหารฮาลาล
การจัดการโลจิตติกส์
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม การดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 กำหนดองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาคกลางและขนาดย่อม โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการควบคุม การเชือดสัตว์ ด้านบริหารกิจการอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ขนาดกลางและขนาดย่อมและนักวิชาการหน่วยงานที่ให้การรับรองอาหารฮาลาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการลดทอนข้อมูล การแสดงข้อมูลและการสร้างเป็นข้อกำหนดของรูปแบบ ขั้นตอนที่ 2 พัฒนารูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการ
สอบถามกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นมุสลิม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการจัดสนทนากลุ่ม (Focus group) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และขั้นตอน ที่ 3
ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการ จัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูป เนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม โคยการสัมภายณ์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านโลจิสติกสั
ด้านอุตสาหกรรมอาหารฮลาลเแปรรูปเนื้อสัตว์ขนาดกลางและขนาดย่อม ด้านมาตร ฐานอาหารฮาลาลและด้านการพัฒนารูปแบบ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่เป็นตัวชี้วัด
ผลการวิจัยพบว่า
1. องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมประกอบด้วยข้อกำหนดทั้งหมด 90 ข้อ แบ่งเป็นข้อกำหนด
ด้านโลจิสติกส์ 9 กิจกรรม ได้แก่ 1) การวางแผนการผลิต 2) การจัดซื้อจัดหา 3) การสื่อสารด้านโลจิสติกส์ และกระบวนการสั่งซื้อ 4) การขนส่ง 5) การบริการลูกค้าและกิจกรรมสนับสนุน 6) โลจิสติกส์ย้อนกลับ 7) การบริหารสินค้าคงกลัง 8) การจัดการคลังสินค้า และ9) การจัดการขนย้าย และการบรรจุภัณฑ์
2.การพัฒนารูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ผลการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่า กิจกรรมโลจิสติกส์
กับการปฏิบัติที่ถูกต้องสำหรับเนื้อวัวแปรรูปฮาลาลในสภาพปัจจุบัน อยู่ในเกณฑ์มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.63 และสภาพที่คาดหวังอยู่ในเกณฑ์มาก มีค่เฉลี่ยเท่ากับ 3.94 ผู้วิจัยได้นำผลการวิเคราะห์ แบบสอบถาม มาสร้างเป็นร่างรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดข่อม และนำข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิในการจัดสนทนากลุ่มมาปรับปรุงร่างรูปแบบให้เป็นรูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูป
เนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่มีความสมบูรณ์ ซึ่งประกอบด้วยสาระสำคัญ 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 แนวคิดหลักพื้นฐานเพื่อการพัฒนารูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรม อาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ประกอบด้วย 1) แนวคิดหลักพื้นฐานด้านการจัดการโลลิสติกส์ 2) แนวคิดหลักพื้นฐานด้านการจัดการตามมาตรฐานคุณภาพ อาหารฮาลาล และตอนที่ 2 รูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดซ่อม ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมต้นน้ำ กิจกรรมกลางน้ำ และกิจกรรมปลายน้ำ
3. การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ผู้ทรงคุณวุฒิทำประเมินความเหมาะสม 4 ด้าน ได้แก่ 1) ความครบถ้วนขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรม
อาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ 2) ดวามสอดคล้องขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์ อุตสหกรรมอาหารลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม 3) กวามสัมพันธ์ของกิจกรรมของรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม และ 4) การนำรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุดสาห์กรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาคย่อมไปสู่การปฏิบัติ
ซึ่งผลจากการประเมิน พบว่า รูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมมีความเหมาะสมในทุกด้าน
คำสำคัญ: รูปแบบการจัดการโลจิสติกสั โลจิสติกส์อาหารฮาลาล แปรรูปเนื้อสัตว์ฮาลาล
ขั้นตอนที่ 1 กำหนดองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาคกลางและขนาดย่อม โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการควบคุม การเชือดสัตว์ ด้านบริหารกิจการอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ขนาดกลางและขนาดย่อมและนักวิชาการหน่วยงานที่ให้การรับรองอาหารฮาลาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการลดทอนข้อมูล การแสดงข้อมูลและการสร้างเป็นข้อกำหนดของรูปแบบ ขั้นตอนที่ 2 พัฒนารูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการ
สอบถามกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นมุสลิม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการจัดสนทนากลุ่ม (Focus group) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และขั้นตอน ที่ 3
ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการ จัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูป เนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม โคยการสัมภายณ์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านโลจิสติกสั
ด้านอุตสาหกรรมอาหารฮลาลเแปรรูปเนื้อสัตว์ขนาดกลางและขนาดย่อม ด้านมาตร ฐานอาหารฮาลาลและด้านการพัฒนารูปแบบ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่เป็นตัวชี้วัด
ผลการวิจัยพบว่า
1. องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมประกอบด้วยข้อกำหนดทั้งหมด 90 ข้อ แบ่งเป็นข้อกำหนด
ด้านโลจิสติกส์ 9 กิจกรรม ได้แก่ 1) การวางแผนการผลิต 2) การจัดซื้อจัดหา 3) การสื่อสารด้านโลจิสติกส์ และกระบวนการสั่งซื้อ 4) การขนส่ง 5) การบริการลูกค้าและกิจกรรมสนับสนุน 6) โลจิสติกส์ย้อนกลับ 7) การบริหารสินค้าคงกลัง 8) การจัดการคลังสินค้า และ9) การจัดการขนย้าย และการบรรจุภัณฑ์
2.การพัฒนารูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ผลการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่า กิจกรรมโลจิสติกส์
กับการปฏิบัติที่ถูกต้องสำหรับเนื้อวัวแปรรูปฮาลาลในสภาพปัจจุบัน อยู่ในเกณฑ์มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.63 และสภาพที่คาดหวังอยู่ในเกณฑ์มาก มีค่เฉลี่ยเท่ากับ 3.94 ผู้วิจัยได้นำผลการวิเคราะห์ แบบสอบถาม มาสร้างเป็นร่างรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดข่อม และนำข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิในการจัดสนทนากลุ่มมาปรับปรุงร่างรูปแบบให้เป็นรูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูป
เนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่มีความสมบูรณ์ ซึ่งประกอบด้วยสาระสำคัญ 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 แนวคิดหลักพื้นฐานเพื่อการพัฒนารูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรม อาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ประกอบด้วย 1) แนวคิดหลักพื้นฐานด้านการจัดการโลลิสติกส์ 2) แนวคิดหลักพื้นฐานด้านการจัดการตามมาตรฐานคุณภาพ อาหารฮาลาล และตอนที่ 2 รูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดซ่อม ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมต้นน้ำ กิจกรรมกลางน้ำ และกิจกรรมปลายน้ำ
3. การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ผู้ทรงคุณวุฒิทำประเมินความเหมาะสม 4 ด้าน ได้แก่ 1) ความครบถ้วนขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการ โลจิสติกส์อุตสาหกรรม
อาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ 2) ดวามสอดคล้องขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์ อุตสหกรรมอาหารลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม 3) กวามสัมพันธ์ของกิจกรรมของรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม และ 4) การนำรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุดสาห์กรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาคย่อมไปสู่การปฏิบัติ
ซึ่งผลจากการประเมิน พบว่า รูปแบบการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรรูปเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมมีความเหมาะสมในทุกด้าน
คำสำคัญ: รูปแบบการจัดการโลจิสติกสั โลจิสติกส์อาหารฮาลาล แปรรูปเนื้อสัตว์ฮาลาล
บทคัดย่อ
This research aims to develop a logistics management model for the Halal meat
processing food in small and medium industries. There are 3 steps in conducting research:
1) Defining the elements of the Halal food industry logistics management model in small and medium industries by interviewing experts in animal slaughter management control of balal meat processing food business in small and medium industries, and academic agencies that provide Halal food certification. Analyze data by reducing data. Data display and establishing the requirements of the model. 2) Develop the model of logistics management for the Halal meat processing food industry in small and medium industries by questioning the Muslim consumer groups and analyze the data by analyzing the mean (X), Standard Deviation (S.D.) and focus group by the experts and 3) cvaluate the suitability of logistics management model of the Halal meat processing food industry in snall and medium industries by interviewing the experts in
logistics, in small and medium Halal meat processing food industries, Halal food standards and the development of models and analyze the data by using frequency values as indicators.
The research found that:
1. The components of the logistics management model of the Halal meat processing food in small and medium industries consists of 90 requirements, divided into 9 logistics requirements,
1) Demand forecasting and planning 2) Purchasing and Procurement 3) Logistics Communication and Order Processing 4) Transportation 5) Customer Service and Support 6) Reverse Logistics 7) Inventory Management 8) Warehousing and Storage and 9) Material Handling and Packing.
2. Develop the logistics management model for the Halal meat processing food industry
in small and medium industries, the result of the questionnaire analysis shows that the logistic activities and the correct practices for the Halal processed beef in the current condition, in very high level has an average of 3.63 and the expected condition is very high. The average is equal to 3.94 and the suggestions from the experts in group discussions can be improved. To develop the logistics management model of the Halal meat processing food industry in small and medium industries to be completed which consists of 2 main parts: Part 1: Basic concepts for the development of the logistics management model for the Halal meat processing food in the sinall and medium industries consists of 1) Basic concepts of logistics management and 2) Basic
concepts of management according to the Halal food quality standards and Part 2: Logistics management model for the Halal meat processing food in the small and medium industries consist of the main activities which are the upstream and downstream activities
3. Assessment of the appropriateness of the logistics management model for the Halal
meat processing food industry in small and medium industries, the evaluation results of the suitability of experts in all 4 fields consist of 1) the completeness of the components of the Halal meat processing logistics management model. 2) Consistency of the components of The Halal meat food processing logistics management model in the small and medium industries 3) The relation of activities of the Halal meat processing food logistics management model in the small and medium industries and 4) Adopting the Halal meat processing food logistics management model in the small and medium industries into action, which the results of the assessment found that the Halal meat processing food logistics management model in small and medium industries
is appropriate in all aspects.
Keywords: Logistics management model, Halal food logistics, Halal meat processing
processing food in small and medium industries. There are 3 steps in conducting research:
1) Defining the elements of the Halal food industry logistics management model in small and medium industries by interviewing experts in animal slaughter management control of balal meat processing food business in small and medium industries, and academic agencies that provide Halal food certification. Analyze data by reducing data. Data display and establishing the requirements of the model. 2) Develop the model of logistics management for the Halal meat processing food industry in small and medium industries by questioning the Muslim consumer groups and analyze the data by analyzing the mean (X), Standard Deviation (S.D.) and focus group by the experts and 3) cvaluate the suitability of logistics management model of the Halal meat processing food industry in snall and medium industries by interviewing the experts in
logistics, in small and medium Halal meat processing food industries, Halal food standards and the development of models and analyze the data by using frequency values as indicators.
The research found that:
1. The components of the logistics management model of the Halal meat processing food in small and medium industries consists of 90 requirements, divided into 9 logistics requirements,
1) Demand forecasting and planning 2) Purchasing and Procurement 3) Logistics Communication and Order Processing 4) Transportation 5) Customer Service and Support 6) Reverse Logistics 7) Inventory Management 8) Warehousing and Storage and 9) Material Handling and Packing.
2. Develop the logistics management model for the Halal meat processing food industry
in small and medium industries, the result of the questionnaire analysis shows that the logistic activities and the correct practices for the Halal processed beef in the current condition, in very high level has an average of 3.63 and the expected condition is very high. The average is equal to 3.94 and the suggestions from the experts in group discussions can be improved. To develop the logistics management model of the Halal meat processing food industry in small and medium industries to be completed which consists of 2 main parts: Part 1: Basic concepts for the development of the logistics management model for the Halal meat processing food in the sinall and medium industries consists of 1) Basic concepts of logistics management and 2) Basic
concepts of management according to the Halal food quality standards and Part 2: Logistics management model for the Halal meat processing food in the small and medium industries consist of the main activities which are the upstream and downstream activities
3. Assessment of the appropriateness of the logistics management model for the Halal
meat processing food industry in small and medium industries, the evaluation results of the suitability of experts in all 4 fields consist of 1) the completeness of the components of the Halal meat processing logistics management model. 2) Consistency of the components of The Halal meat food processing logistics management model in the small and medium industries 3) The relation of activities of the Halal meat processing food logistics management model in the small and medium industries and 4) Adopting the Halal meat processing food logistics management model in the small and medium industries into action, which the results of the assessment found that the Halal meat processing food logistics management model in small and medium industries
is appropriate in all aspects.
Keywords: Logistics management model, Halal food logistics, Halal meat processing
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
นุกูล สาระวงศ์
สมบัติ ทีฑทรัพย์
ทัศนัย กีรติรัตนะ
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2562
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2565-10-31
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2565-10-31
วันที่เผยแพร่
2565-10-31
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 388.12 ส345ร 2562
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
ปริญญาเอก
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สร้อยสุดา เลาะหมุด, “รูปแบบการจัดการโลจิตติกส์อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลแปรเนื้อสัตว์ในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดย่อม”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2562, คลังข้อมูลประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed November 27, 2024, http://202.29.54.157/s/information/item/2483