พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของบุคลากรในหน่วยงานราชการ จังหวัดนครราชสีมา
Item
ชื่อเรือง
พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของบุคลากรในหน่วยงานราชการ จังหวัดนครราชสีมา
ชื่อเรื่องรอง
Behavior of Buying Environmental Friendly Products of Government Officers at Nakhon Ratchasima
ผู้แต่ง
คมสันต์ ต่ายทรัพย์
หัวเรื่อง
ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
ผลิตภัณฑ์สีเขียว
การซื้อสินค้า -- การตัดสินใจ
การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดอื่นๆ
การสำรวจพฤติกรรมในการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวคล้อม (EFPs) ของบุคลากรในหน่วยงานราชการ ได้เก็บข้อมูลจากหน่วยงานราชการในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมาโดยใช้แบบสอบถาม ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป ความรู้กี่ยวกับ EFPs ลักษณะการซื้อ EFPs ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อ EFPs และพฤติกรรมในการเลือกซื้อ EFPs ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเที่ยงบนมาตรฐาน ไคสเแคร์ และวิธีสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการวิจัยที่สำคัญพบว่าบุคลากรในหน่วยงานราชการเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมาสนใจในการซื้อ EFPs ก่อนข้างมาก โดยปัจจัยอายุ เพศ สถานะกาพ ของประชากรมีความเป็นอิสระต่อกันไม่ขึ้นกับความรู้เกี่ยวกับ EFPs ในขณะที่ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน จะมีความสัมพันธ์ต่อกันกับความรู้เกี่ยวกับ EFPs ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านกระบวนการผลิต ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ และปัจจัยการเมือง ไม่มีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรม การซื้อ EFPs อย่างมีนัยสำคัญ สำหรับระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือนพบว่ามีผลต่อการเลือกซื้อ EFPs แต่อายุ เพศ สถานะภาพ ไม่มีผล นอกจากนี้ทุกปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์จะมีผลต่อการเลือกซื้อ EFPs อีกด้วย โดยกาพรวมบุคลากรในหน่วยงานราชการของเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา มีพฤติกรรมในการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวลล้อมในระดับมาก
คำสำคัญ : พฤติกรรมของการซื้อ, ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม,บุคลากรในหน่วยงานราชการ,ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์
ผลการวิจัยที่สำคัญพบว่าบุคลากรในหน่วยงานราชการเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมาสนใจในการซื้อ EFPs ก่อนข้างมาก โดยปัจจัยอายุ เพศ สถานะกาพ ของประชากรมีความเป็นอิสระต่อกันไม่ขึ้นกับความรู้เกี่ยวกับ EFPs ในขณะที่ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน จะมีความสัมพันธ์ต่อกันกับความรู้เกี่ยวกับ EFPs ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านกระบวนการผลิต ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ และปัจจัยการเมือง ไม่มีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรม การซื้อ EFPs อย่างมีนัยสำคัญ สำหรับระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือนพบว่ามีผลต่อการเลือกซื้อ EFPs แต่อายุ เพศ สถานะภาพ ไม่มีผล นอกจากนี้ทุกปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์จะมีผลต่อการเลือกซื้อ EFPs อีกด้วย โดยกาพรวมบุคลากรในหน่วยงานราชการของเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา มีพฤติกรรมในการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวลล้อมในระดับมาก
คำสำคัญ : พฤติกรรมของการซื้อ, ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม,บุคลากรในหน่วยงานราชการ,ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์
โยธิน อึ่งกูล
ณัชวิชญ์ ติกุล
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2553
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 658.834 ค152พ 2553
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
การจัดการอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2553
คอลเลกชั่น
คมสันต์ ต่ายทรัพย์ . (2553). พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของบุคลากรในหน่วยงานราชการ จังหวัดนครราชสีมา. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 25, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1312