ความทรงจำ และจินตนาการในงานจิตรกรรมไร้มายา
Item
ชื่อเรือง
ความทรงจำ และจินตนาการในงานจิตรกรรมไร้มายา
ชื่อเรื่องรอง
MEMORY AND IMAGINATION IN NAIVE PAINTING STYLE
ผู้แต่ง
ณฤดี ลั่นซ้าย
หัวเรื่อง
จิตรกรรม
จินตนาการ
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) ศึกษาลักษณะผลงานจิตรกรรมศิลปะไร้มายา 2)ศึกษาเรื่องความทรงจำและจินตนาการกับการแสดงออกโดยอิสระไร้มายา และ 3) สร้างสรรค์งานจิตรกรรมด้วยสีอะคริลิกบนผ้าใบ เนื้อหาความทรงจำ และจินตนาการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผู้เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะ จำนวน 3 ท่าน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Puposive random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ภาพจิตรกรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจำนวน 4 ชิ้น เก็บข้อมูล จากผู้ชี่ยวชาญทางด้านศิลปะและนักวิชาการ โดยใช้เทคนิคเคลฟายประยุกต์ (Deiphi Applied Technique)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ลักษณะผลงานจิตรกรรมไร้มายา เป็นภาพเขียนที่ถ่ายทอดมาจากจินตนาการ ผลงานลักษณะคล้ายคถึงกับภาพเขียนของเด็ก โดยแสดงออกในลักษณะที่เรียบง่าย ตรงไปตรงมาและ สื่อผ่านเรื่องราวราวตามประสบการณ์ของศิลปิน
2. ความทรงจำและจินตนาการกับการแสดงออกโดยอิสระไร้มายา เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับความทรงจำที่ศิลปินประสบด้วยตนเอง เป็นการนำสัญลักษณ์ต่างๆ จากความทรงจำมาใช้ เช่น ของเล่น สัตว์เลี้ยง เหตุการณ์ชีวิตประจำวัน ครอบครัว เทศกาล และทิวทัศน์
3. สร้างสรรค์งานจิตรกรรมด้วยสีอะคริลิกบนผ้าใบ เนื้อหาความทรงจำ และจินตนาการในงานจิตรกรรมไร้มายา ผู้วิจัยใช้วิธีการระบายเรียบ โดยระบายสีทับกันหลายชั้น เพื่อ ลดร่องรอยของฝีแปรง ทำให้ภาพมีความกลมกลืน เกิดความรู้สึกนุ่มนวล และทำให้ภาพมีความเรียบง่ายตามแบบศิลปะไร้มายา อีกทั้งจัดองค์ประกอบให้เกิดระยะ โดยใช้เส้นนำสายตา และสร้าง ความแตกต่งของรูปทรง รูปทรงที่อยู่ค้านหน้ามีขนาดใหญ่ ด้านหลังมีขนาดที่เล็กกว่า และยังใช้ วิธีการไส่น้ำหนักอ่อนแก่ เพื่อช่วยสร้างระยะของภาพ รวมทั้งการจัดองค์ประกอบของภาพที่เน้น ความรู้สึกเคลื่อนไหวของรูปทรง, ทิศทางของเส้น, สีที่สดใส และการจัดภาพโดยใช้หลักความสมดุลด้วยความรู้สึก เพื่อให้ภาพมีความสนุกสนาน
คำสำคัญ : จิตรกรรมไร้มายา , ความทรงจำ ,จินตนาการ
1) ศึกษาลักษณะผลงานจิตรกรรมศิลปะไร้มายา 2)ศึกษาเรื่องความทรงจำและจินตนาการกับการแสดงออกโดยอิสระไร้มายา และ 3) สร้างสรรค์งานจิตรกรรมด้วยสีอะคริลิกบนผ้าใบ เนื้อหาความทรงจำ และจินตนาการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผู้เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะ จำนวน 3 ท่าน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Puposive random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ภาพจิตรกรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจำนวน 4 ชิ้น เก็บข้อมูล จากผู้ชี่ยวชาญทางด้านศิลปะและนักวิชาการ โดยใช้เทคนิคเคลฟายประยุกต์ (Deiphi Applied Technique)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ลักษณะผลงานจิตรกรรมไร้มายา เป็นภาพเขียนที่ถ่ายทอดมาจากจินตนาการ ผลงานลักษณะคล้ายคถึงกับภาพเขียนของเด็ก โดยแสดงออกในลักษณะที่เรียบง่าย ตรงไปตรงมาและ สื่อผ่านเรื่องราวราวตามประสบการณ์ของศิลปิน
2. ความทรงจำและจินตนาการกับการแสดงออกโดยอิสระไร้มายา เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับความทรงจำที่ศิลปินประสบด้วยตนเอง เป็นการนำสัญลักษณ์ต่างๆ จากความทรงจำมาใช้ เช่น ของเล่น สัตว์เลี้ยง เหตุการณ์ชีวิตประจำวัน ครอบครัว เทศกาล และทิวทัศน์
3. สร้างสรรค์งานจิตรกรรมด้วยสีอะคริลิกบนผ้าใบ เนื้อหาความทรงจำ และจินตนาการในงานจิตรกรรมไร้มายา ผู้วิจัยใช้วิธีการระบายเรียบ โดยระบายสีทับกันหลายชั้น เพื่อ ลดร่องรอยของฝีแปรง ทำให้ภาพมีความกลมกลืน เกิดความรู้สึกนุ่มนวล และทำให้ภาพมีความเรียบง่ายตามแบบศิลปะไร้มายา อีกทั้งจัดองค์ประกอบให้เกิดระยะ โดยใช้เส้นนำสายตา และสร้าง ความแตกต่งของรูปทรง รูปทรงที่อยู่ค้านหน้ามีขนาดใหญ่ ด้านหลังมีขนาดที่เล็กกว่า และยังใช้ วิธีการไส่น้ำหนักอ่อนแก่ เพื่อช่วยสร้างระยะของภาพ รวมทั้งการจัดองค์ประกอบของภาพที่เน้น ความรู้สึกเคลื่อนไหวของรูปทรง, ทิศทางของเส้น, สีที่สดใส และการจัดภาพโดยใช้หลักความสมดุลด้วยความรู้สึก เพื่อให้ภาพมีความสนุกสนาน
คำสำคัญ : จิตรกรรมไร้มายา , ความทรงจำ ,จินตนาการ
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
พีระพงษ์ กุลพิศาล
โกสุม สายใจ
สมชาย พรหมสุวรรณ
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2554
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 750 ณ253ค 2554
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
ดนตรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2554
คอลเลกชั่น
ณฤดี ลั่นซ้าย . (2554). ความทรงจำ และจินตนาการในงานจิตรกรรมไร้มายา. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 25, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1335