รูปแบบการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เหมาะสมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
Item
ชื่อเรือง
รูปแบบการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เหมาะสมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ชื่อเรื่องรอง
An appropriate educational technology and innovation management model for Faculty of Industrial Technology of Rajabhat Universities
ผู้แต่ง
ณัฐกานต์ พวงไพบูลย์
หัวเรื่อง
เทคโนโลยีทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2) เปรียบเทียบสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฎ และ 3)กำหนดรูปแบบการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เหมาะสมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหาร อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิประจำคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 669 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบ และแบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเปรียบเทียบ T-test และ F-test
ผลการวิจัยพบว่า
1.สภาพที่เป็นจริงในภาพรวมมีการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้าน การใช้และการบริการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านการจัดหาหรือสรรหานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการจัดเก็บและการซ่อมบำรุงนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการจัดองค์การเพื่อดูแลระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการฝึกอบรมและการนิเทศการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกพา และต่ำสุด คือ ด้านการประเมินนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา สภาพที่พึ่งประสงค์การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีค่าสูงกว่าสภาพที่เป็นจริง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการฝึกอบรมและการนิเทศการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการประเมินและวิจัยพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา มีค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์สูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านการใช้และการบริการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการจัดองค์การเพื่อดูแลระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการจัดเก็บและการซ่อมบำรุงนวัดกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาและด้านการจัดหาหรือสรรหานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
2.เปรียบเทียบสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่ พึงประสงค์การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม พบว่ามีความแดกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05
3.รูปแบบการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เหมาะสมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏประกอบด้วยองค์ประกอบ 6 ด้านดังนี้ 1) ด้านการใช้และการบริการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 2) ด้านการจัดหาหรือสรรหานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 3) ด้านการจัดเก็บและการซ่อมบำรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 4) ด้านการจัดองค์การเพื่อดูแลระขบนวัดกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 5) ด้านการฝึกอบรมและการนิเทศการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 6 ด้านการประเมินและวิจัยพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
คำสำคัญ : รูปแบบการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ผลการวิจัยพบว่า
1.สภาพที่เป็นจริงในภาพรวมมีการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้าน การใช้และการบริการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านการจัดหาหรือสรรหานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการจัดเก็บและการซ่อมบำรุงนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการจัดองค์การเพื่อดูแลระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการฝึกอบรมและการนิเทศการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกพา และต่ำสุด คือ ด้านการประเมินนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา สภาพที่พึ่งประสงค์การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีค่าสูงกว่าสภาพที่เป็นจริง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการฝึกอบรมและการนิเทศการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการประเมินและวิจัยพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา มีค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์สูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านการใช้และการบริการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการจัดองค์การเพื่อดูแลระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการจัดเก็บและการซ่อมบำรุงนวัดกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาและด้านการจัดหาหรือสรรหานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
2.เปรียบเทียบสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่ พึงประสงค์การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม พบว่ามีความแดกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05
3.รูปแบบการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เหมาะสมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏประกอบด้วยองค์ประกอบ 6 ด้านดังนี้ 1) ด้านการใช้และการบริการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 2) ด้านการจัดหาหรือสรรหานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 3) ด้านการจัดเก็บและการซ่อมบำรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 4) ด้านการจัดองค์การเพื่อดูแลระขบนวัดกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 5) ด้านการฝึกอบรมและการนิเทศการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 6 ด้านการประเมินและวิจัยพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
คำสำคัญ : รูปแบบการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
วิชัย แหวนเพชร
สมบัติ ทีฆทรัพย์
ศักดิ์คเรศ ประกอบผล
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2555
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 371.33 ณ322ร 2555
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
ปริญญาเอก
การจัดการเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2555
คอลเลกชั่น
ณัฐกานต์ พวงไพบูลย์ . (2555). รูปแบบการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เหมาะสมของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 25, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1387