จิตรกรรมภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง: กรณีศึกษาผลงานจิตรกรรมของ ปอล เซซาน ระหว่างปี ค.ศ. 1876 - 1905
Item
ชื่อเรือง
จิตรกรรมภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง: กรณีศึกษาผลงานจิตรกรรมของ ปอล เซซาน ระหว่างปี ค.ศ. 1876 - 1905
ชื่อเรื่องรอง
Architectural Landscape : A Case Study of Paintings of Paul Cézanné’s during 1876 - 1905
ผู้แต่ง
วัชรัศน์ ศรีวิริยะกิจ
หัวเรื่อง
จิตรกรรม
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมสีน้ำมันภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้างของปอล เซซานระหว่างปีค.ศ. 1876-1905 ในประเด็นชุดสีเทคนิคการระบายสีน้ำมันรูปแบบการตัดทอนและการบิดเบือนการจัดภาพและการสร้างจุดสนใจ 2) สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง:กรณีศึกษาผลงานของปอล เซซานระหว่างปี ค.ศ. 1876-1905 ด้วยสีน้ำมันบนผ้าใบกลุ่มตัวอย่างคือผลงานที่ได้คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบวิเคราะห์ตารางกริดแบบสังเกตแบบมีโครงสร้างแบบสัมภาษณ์ ผลงานสร้างสรรค์ของผู้วิจัยและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละใช้สำหรับหาค่าพื้นที่ของชุดสีและเทคนิคการระบายสีน้ำมัน
ผลการวิจัยพบว่า
1.การศึกษาวิเคราะห์ลักษณะการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมพบว่า ชุดสีที่ใช้ได้แก่สีเขียว สีเหลือง สีส้ม สีแดง สีน้ำเงิน สีม่วง สีกลาง สีขาว สีคล้ำ เทคนิคการระบายสีน้ำมันใช้วิธีการลูบสีเป็นแผ่นสีสั้นๆเชื่อมต่อกันและระบายแบบเรียบกลมกลืน แบบขอบคม แบบขอบรูปทรงผสานกันอย่างนุ่มนวล และแบบขีดเป็นเส้นกับเรียงเส้น การตัดทอนมีลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตแบบเหลี่ยมแบบกลมและแบบอิสระการบิดเบือนมีทั้งลักษณะหดและยืด การจัดภาพใช้ทัศนมิติเชิงบรรยากาศประกอบด้วยเส้นแนวตั้งของสิ่งก่อสร้างและต้นไม้ กับเส้นแนวนอนของขอบฟ้าเพื่อสร้างดุลยภาพ การสร้างจุดสนใจพบว่าทำให้ภาพมีขอบคมเพื่อแยกรูปกับพื้นและใช้สีคู่ตรงข้ามรวมทั้งจัดวางตำแหน่งจุดสนใจไว้กลางภาพและใช้ลักษณะมืดล้อมสว่าง
2. การสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้างชุดสีที่ผู้วิจัยใช้ได้แก่ สีเขียวสีเหลือง สีส้ม สีน้ำเงิน สีแดง สีม่วง สีกลาง สีขาว สีคล้ำการระบายสีเป็นการลูบสีเป็นแผ่นสั้นๆ
เชื่อมต่อกันรวมทั้งระบายแบบเรียบกลมกลืน แบบขอบคม แบบให้ขอบรูปทรงผสานกัน อย่างนุ่มนวล แบบขีดเป็นเส้นและเรียงเส้น การตัดทอนมีลักษณะเป็นเรขาคณิตแบบเหลี่ยมแบบกลมและอิสระการบิดเบือนใช้วิธียืดและหด การจัดภาพใช้ทัศนมิติเชิงบรรยากาศด้วยเส้นแนวตั้งของสิ่งก่อสร้างและต้นไม้กับเส้นแนวนอนของขอบฟ้าเพื่อสร้างดุลยภาพ การสร้างจุดสนใจใช้วิธีทำให้ภาพมีขอบคมเพื่อแยกรูปกับพื้นรวมทั้งใช้สีคู่ตรงข้ามและจัดวางตำแหน่งจุดสนใจไว้กลางภาพรวมถึงการใช้สีมืดล้อมสีสว่าง
คำสำคัญ : จิตรกรรม, ภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง, ปอล เซซาน
ผลการวิจัยพบว่า
1.การศึกษาวิเคราะห์ลักษณะการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมพบว่า ชุดสีที่ใช้ได้แก่สีเขียว สีเหลือง สีส้ม สีแดง สีน้ำเงิน สีม่วง สีกลาง สีขาว สีคล้ำ เทคนิคการระบายสีน้ำมันใช้วิธีการลูบสีเป็นแผ่นสีสั้นๆเชื่อมต่อกันและระบายแบบเรียบกลมกลืน แบบขอบคม แบบขอบรูปทรงผสานกันอย่างนุ่มนวล และแบบขีดเป็นเส้นกับเรียงเส้น การตัดทอนมีลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตแบบเหลี่ยมแบบกลมและแบบอิสระการบิดเบือนมีทั้งลักษณะหดและยืด การจัดภาพใช้ทัศนมิติเชิงบรรยากาศประกอบด้วยเส้นแนวตั้งของสิ่งก่อสร้างและต้นไม้ กับเส้นแนวนอนของขอบฟ้าเพื่อสร้างดุลยภาพ การสร้างจุดสนใจพบว่าทำให้ภาพมีขอบคมเพื่อแยกรูปกับพื้นและใช้สีคู่ตรงข้ามรวมทั้งจัดวางตำแหน่งจุดสนใจไว้กลางภาพและใช้ลักษณะมืดล้อมสว่าง
2. การสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้างชุดสีที่ผู้วิจัยใช้ได้แก่ สีเขียวสีเหลือง สีส้ม สีน้ำเงิน สีแดง สีม่วง สีกลาง สีขาว สีคล้ำการระบายสีเป็นการลูบสีเป็นแผ่นสั้นๆ
เชื่อมต่อกันรวมทั้งระบายแบบเรียบกลมกลืน แบบขอบคม แบบให้ขอบรูปทรงผสานกัน อย่างนุ่มนวล แบบขีดเป็นเส้นและเรียงเส้น การตัดทอนมีลักษณะเป็นเรขาคณิตแบบเหลี่ยมแบบกลมและอิสระการบิดเบือนใช้วิธียืดและหด การจัดภาพใช้ทัศนมิติเชิงบรรยากาศด้วยเส้นแนวตั้งของสิ่งก่อสร้างและต้นไม้กับเส้นแนวนอนของขอบฟ้าเพื่อสร้างดุลยภาพ การสร้างจุดสนใจใช้วิธีทำให้ภาพมีขอบคมเพื่อแยกรูปกับพื้นรวมทั้งใช้สีคู่ตรงข้ามและจัดวางตำแหน่งจุดสนใจไว้กลางภาพรวมถึงการใช้สีมืดล้อมสีสว่าง
คำสำคัญ : จิตรกรรม, ภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง, ปอล เซซาน
บทคัดย่อ
The purposes of this research were 1) to analyze the characteristics of the architectural landscape oil paintings of Paul Cézanné created during 1876 - 1905 in terms of the palettes, oil-painting techniques, abstraction and distortion, composition, and point of interest and 2) to create Architectural Landscape paintings: A case study of painting by Paul Cézanné during 1876-1905. The samples included twenty-five paintings of Paul Cézanné created during 1876-1905. Data was collected by grid analysis, structured observation, interviews, and paintings created by the researcher. The statistics used for data analysis were the percentage to find the areas of colors and oil-painting techniques.
The findings revealed as follows.
1. According to the characteristic analysis of Paul Cézanné’s paintings, the palettes consisted of green, yellow, orange, red, blue, purple, neutral color, white, and shade colors. Painting techniques were dapping, blending, hard-edge and solf-edge painting, line and sequence lines painting. Abstraction included geometric abstraction of square, circle and free shapes. Distortion of forms showed both shrinking and stretching. Composition using atmospheric perspective included vertical lines of buildings and trees with the horizontal line to create the balance. The study also found the using of hard-edge forms to discriminate figures form ground, using of complementary colors, placing point of interest in the center of the paintings, and using light tones surrounded with dark tones. These were used to create the point of interest.
2. According to the creation of the architectural landscape paintings by the researcher, the palettes consisted of green, yellow, orange, red, blue, purple, neutral color, white and shade colors. The painting techniques were dapping, blending, hade-edge, solf-edge together with line and sequence lines painting. In case of Abstraction, geometric abstraction was used to create square, circle and free shapes. Distortion showed both shrinking and stretching forms. The composition was based on the atmospheric perspective with vertical lines of buildings and trees together with the horizontal line in order to represent the balance of the paintings. The techniques of hard-edge forms to discriminate figures from ground, complementary colors, placing point of interest in the centre of painting, and painting light tones surrounded with dark tones were used to create the point of interest.
Keywords : Paintings, Architectural Landscape, Paul Cézanné
The findings revealed as follows.
1. According to the characteristic analysis of Paul Cézanné’s paintings, the palettes consisted of green, yellow, orange, red, blue, purple, neutral color, white, and shade colors. Painting techniques were dapping, blending, hard-edge and solf-edge painting, line and sequence lines painting. Abstraction included geometric abstraction of square, circle and free shapes. Distortion of forms showed both shrinking and stretching. Composition using atmospheric perspective included vertical lines of buildings and trees with the horizontal line to create the balance. The study also found the using of hard-edge forms to discriminate figures form ground, using of complementary colors, placing point of interest in the center of the paintings, and using light tones surrounded with dark tones. These were used to create the point of interest.
2. According to the creation of the architectural landscape paintings by the researcher, the palettes consisted of green, yellow, orange, red, blue, purple, neutral color, white and shade colors. The painting techniques were dapping, blending, hade-edge, solf-edge together with line and sequence lines painting. In case of Abstraction, geometric abstraction was used to create square, circle and free shapes. Distortion showed both shrinking and stretching forms. The composition was based on the atmospheric perspective with vertical lines of buildings and trees together with the horizontal line in order to represent the balance of the paintings. The techniques of hard-edge forms to discriminate figures from ground, complementary colors, placing point of interest in the centre of painting, and painting light tones surrounded with dark tones were used to create the point of interest.
Keywords : Paintings, Architectural Landscape, Paul Cézanné
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
พีระพงษ์ กุลพิศาล
วรรณา พิเชฐพฤทธ์
พิสิษฐ์ พันธ์เทียน
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2557
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 750 ว381จ 2557
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
ศิลปกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2557
คอลเลกชั่น
วัชรัศน์ ศรีวิริยะกิจ . (2557). จิตรกรรมภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง: กรณีศึกษาผลงานจิตรกรรมของ ปอล เซซาน ระหว่างปี ค.ศ. 1876 - 1905. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 24, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1433