การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญกาคณิตศาสตร์โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดล
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญกาคณิตศาสตร์โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดล
ชื่อเรื่องรอง
The Developent of Mathematie Problem Solving Skills of Prathomsuksa 2 Students through Bar Model
ผู้แต่ง
ภาวิณี สืบสวน
หัวเรื่อง
คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาความสามารถในการแก้โจทข์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้ กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียน และ (3) ศึกษาความพึง
พอใจในการเรียนโดยใช้ กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดขุนจันทร์ สังกัด สำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำนวน15 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการ จัดการเรียนรู้ (2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ และ (3) แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาณิตศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 นักเรียนมีคะแนนพัฒนาในการแก้โจทข์ปัญหา คณิตศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลสูงขึ้นทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100
2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ความสามารถในการแก้ โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
3. ความพึงพอใจในการเรียน โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์ โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด
คำสำคัญ : กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดล,การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
พอใจในการเรียนโดยใช้ กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดขุนจันทร์ สังกัด สำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำนวน15 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการ จัดการเรียนรู้ (2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ และ (3) แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาณิตศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 นักเรียนมีคะแนนพัฒนาในการแก้โจทข์ปัญหา คณิตศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลสูงขึ้นทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100
2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ความสามารถในการแก้ โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
3. ความพึงพอใจในการเรียน โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์ โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด
คำสำคัญ : กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดล,การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ
The objectives of this research were (1) to develop mathematic problem solving skills of Prathomsuksa 2 students through Bar Model (2) to compare mathematic problem solving skills of
Prathomsuksa 2 students between before and after the experiment and (3) to study the students’ satisfaction of learning through Bar Model. The population included 15 Prathomsuksa 2 students
from Wat Khunchan School under Thonburi District Office, Bangkok in the 1st semester of academic year 2019. Research tools involved (1) lesson plans (2) test of mathematic problem solving skills and (3) a set of questionnaire. Data were statistically analyzed by mean, standard deviation and percentage.
The findings revealed the following.
1. One hundred percent of the students who learned through Bar Model had the higher scores of mathematic problem solving skills of Prathomsuksa 2 students developed using Bar Model.
2. After learning through Bar Model, mathematic problem solving skills of Prathomsuksa 2 students were found higher than those before the experiment.
3. The students’ satisfaction of learning through Bar Model was found at the highest level
Keywords: Learning through Bar Model, Mathematic Problem Solving.
Prathomsuksa 2 students between before and after the experiment and (3) to study the students’ satisfaction of learning through Bar Model. The population included 15 Prathomsuksa 2 students
from Wat Khunchan School under Thonburi District Office, Bangkok in the 1st semester of academic year 2019. Research tools involved (1) lesson plans (2) test of mathematic problem solving skills and (3) a set of questionnaire. Data were statistically analyzed by mean, standard deviation and percentage.
The findings revealed the following.
1. One hundred percent of the students who learned through Bar Model had the higher scores of mathematic problem solving skills of Prathomsuksa 2 students developed using Bar Model.
2. After learning through Bar Model, mathematic problem solving skills of Prathomsuksa 2 students were found higher than those before the experiment.
3. The students’ satisfaction of learning through Bar Model was found at the highest level
Keywords: Learning through Bar Model, Mathematic Problem Solving.
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
เพ็ญพร ทองคำสุก
อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด
พัชรีภรณ์ บางเขียว
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2563
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 373.241 ภ479ก 2563
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2563
คอลเลกชั่น
ภาวิณี สืบสวน . (2563). การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญกาคณิตศาสตร์โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบาร์โมเดล. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 24, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1602