ยุทธศาสตร์การผลิตปุ้ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร โดยใช้การวิจัย ปฏิบัติการ : กรณีศึกษาบ้านหนองกางเขน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี.
Item
ชื่อเรือง
ยุทธศาสตร์การผลิตปุ้ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร โดยใช้การวิจัย
ปฏิบัติการ : กรณีศึกษาบ้านหนองกางเขน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี.
ปฏิบัติการ : กรณีศึกษาบ้านหนองกางเขน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี.
ชื่อเรื่องรอง
The Strategy Of Bio-Compost Fertilizer Production For
Agriculture Using Action Research : Case Study of Nhongkangkane Village, Bangmaenang
Subdistrict. Nonthaburi Province.
Agriculture Using Action Research : Case Study of Nhongkangkane Village, Bangmaenang
Subdistrict. Nonthaburi Province.
ผู้แต่ง
อรพร สุทธิเนียม
หัวเรื่อง
ปุ๋ยหมัก -- การผลิต -- วิจัย
ปุ๋ยชีวภาพ -- การผลิต -- วิจัย
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างยุทธศาสตร์การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยเกษตรกร บ้านหนองกางเขน ตำบลบางแเม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี จำนวน 10 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การสัมภาษณ์และสังเกตการณ์
ผลการวิจัยพบว่า การวิเคราะห์ปัญหาเชิงพัฒนา แบ่งเป็นปัญหาทุกข์ร้อน ปัญหาปัจจัย และปัญหาสืบเนื่อง ปัญหาทุกข์ร้อน ได้แก่ เกษตรกรขาดความรู้เรื่องการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ เกษตรกรไม่มีการรวมกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาปุ๋ยเคมีราคาแพง ปัญหาปัจจัย ได้แก่ เกษตรกรไม่สามารถผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ได้เอง เพื่อใช้แทนปุ๋ยเคมีที่มีราคาแพง ปัญหาสืบเนื่อง ได้แก่ สารเคมีตกค้างในผลผลิต ดินขาดธาตุอาหารที่จำเป็น ทำให้ดินเสื่อมคุณภาพเร็ว จากการวิเคราะห์ปัญหาเชิงพัฒนาระบุปัญหาเป้าได้ว่า เกษตรกรผู้ปลูกผักขาดความรู้เรื่องปุ๋ยหมักชีวภาพและขาดการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาปุ้ยเคมีราคาแพง
การสร้างยุทธศาสตร์การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร โดยการวิจัยปฏิบัติการประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) การเรียนรู้ โดยใช้การศึกษาดูงาน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากสถานที่จริง 2) การอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ และความชำนาญ 3) การมีส่วนร่วม เกษตรกรมีส่วนร่วมในการคิดวางแผนภารคำเนินงาน 4) การปฏิบัติการจริง สามารถผลิตปุ๊ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ได้จริง
ผลจากการใช้ยุทธศาสตร์การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 10 ราย พบว่า ยุทธศาสตร์การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร เกยตรกรสามารถผลิตปุ๋ยใช้เองได้
ผลการวิจัยพบว่า การวิเคราะห์ปัญหาเชิงพัฒนา แบ่งเป็นปัญหาทุกข์ร้อน ปัญหาปัจจัย และปัญหาสืบเนื่อง ปัญหาทุกข์ร้อน ได้แก่ เกษตรกรขาดความรู้เรื่องการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ เกษตรกรไม่มีการรวมกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาปุ๋ยเคมีราคาแพง ปัญหาปัจจัย ได้แก่ เกษตรกรไม่สามารถผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ได้เอง เพื่อใช้แทนปุ๋ยเคมีที่มีราคาแพง ปัญหาสืบเนื่อง ได้แก่ สารเคมีตกค้างในผลผลิต ดินขาดธาตุอาหารที่จำเป็น ทำให้ดินเสื่อมคุณภาพเร็ว จากการวิเคราะห์ปัญหาเชิงพัฒนาระบุปัญหาเป้าได้ว่า เกษตรกรผู้ปลูกผักขาดความรู้เรื่องปุ๋ยหมักชีวภาพและขาดการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาปุ้ยเคมีราคาแพง
การสร้างยุทธศาสตร์การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร โดยการวิจัยปฏิบัติการประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) การเรียนรู้ โดยใช้การศึกษาดูงาน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากสถานที่จริง 2) การอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ และความชำนาญ 3) การมีส่วนร่วม เกษตรกรมีส่วนร่วมในการคิดวางแผนภารคำเนินงาน 4) การปฏิบัติการจริง สามารถผลิตปุ๊ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ได้จริง
ผลจากการใช้ยุทธศาสตร์การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 10 ราย พบว่า ยุทธศาสตร์การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร เกยตรกรสามารถผลิตปุ๋ยใช้เองได้
บทคัดย่อ
This present study is an action research. The aim is to study the strategy of b
produced for agriculture field. The groups of population were 10 farmers of Nhongkangkanege, Bangmaenang Subdistrict, Nonthaburi Province. The research tools were in observation.
The research found that the developmental problem analysis included of anxiety factor and following problem. Anxiety problems were farmers did not have idea about using bio-compost fertilizer, there was no group of farmer solve high price of chemical fertilizer. Factor problem was ers couldn't produce bio-fertilizer for themselves and used chemical fertilizer in problem was that chemical was left to the product, lack of necessary elements in clay, that can make clay degenerate rapidly. From the developing problem analysis, it is found that farmers who
les lack of knowledge of bio-compost fertilizer and did not participate to so
price of chemical fertilizer.
The format of strategy of bio-compost fertilizer produced for agriculture using action research field included of 4 steps 1. Knowledge by a study tour of inspection from the real situation 2. Training for enchanting knowledge understanding and skillful 3. Farmers' Participation 4. Practical Application to produce their own bio- compost fertilizer.
The result of strategy of bio-compost fertilizer produce for agriculture field by action research, there were 10 farmers in this project and found strategy of bio-compost fertilizerced for agriculture field, farmer scan make their own bio-compost fer
produced for agriculture field. The groups of population were 10 farmers of Nhongkangkanege, Bangmaenang Subdistrict, Nonthaburi Province. The research tools were in observation.
The research found that the developmental problem analysis included of anxiety factor and following problem. Anxiety problems were farmers did not have idea about using bio-compost fertilizer, there was no group of farmer solve high price of chemical fertilizer. Factor problem was ers couldn't produce bio-fertilizer for themselves and used chemical fertilizer in problem was that chemical was left to the product, lack of necessary elements in clay, that can make clay degenerate rapidly. From the developing problem analysis, it is found that farmers who
les lack of knowledge of bio-compost fertilizer and did not participate to so
price of chemical fertilizer.
The format of strategy of bio-compost fertilizer produced for agriculture using action research field included of 4 steps 1. Knowledge by a study tour of inspection from the real situation 2. Training for enchanting knowledge understanding and skillful 3. Farmers' Participation 4. Practical Application to produce their own bio- compost fertilizer.
The result of strategy of bio-compost fertilizer produce for agriculture field by action research, there were 10 farmers in this project and found strategy of bio-compost fertilizerced for agriculture field, farmer scan make their own bio-compost fer
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
วรรณรา ชื่นวัฒนา
ชูชีพ เบียดนอก
เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2551
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2565-11-04
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2565-11-04
วันที่เผยแพร่
2565-11-04
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 631.86 อ331ย 2551
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
อรพร สุทธิเนียม .ยุทธศาสตร์การผลิตปุ้ยหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร โดยใช้การวิจัย ปฏิบัติการ : กรณีศึกษาบ้านหนองกางเขน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 24, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/2492