การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อเรื่องรอง
The Development of Instructional Model to By Using the SQ4R Reading Technique with Graphic Organizers Model to Enhance English Reading for Comprehension Ability of Mathayomsuksa 1 Students
ผู้แต่ง
สิริญา พรมบุตร
หัวเรื่อง
การอ่านขั้นประถมศึกษา
การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) พัฒนารูปแบบการสอน โดยใช้เทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการสอนด้วยเทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R ร่วมกับการ ใช้ผังกราฟิกเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพระยามนธาตุราชรีพิจิตร์ จำนวน 38 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเเบนมาตรฐาน และการทดสอบที่แบบไม่เป็นอิสระ
ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบการสอนโดยใช้เทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรีขนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
มี 4 องค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ 1) ทฤษฎี/หลักการแนวคิด 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการสอน 3) กระบวนการสอนของรูปแบบ และ 4) ผลที่นักเรียนจะ ได้รับจากการสอนของรูปแบบ
2. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรีขนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คะแนนทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย 11.47 (S.D.=3.38) และคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย
20.02 (S.D.= 3.50) คะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0
คำสำคัญ : รูปแบบการสอน เทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R ผังกราฟิก ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
1) พัฒนารูปแบบการสอน โดยใช้เทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการสอนด้วยเทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R ร่วมกับการ ใช้ผังกราฟิกเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพระยามนธาตุราชรีพิจิตร์ จำนวน 38 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเเบนมาตรฐาน และการทดสอบที่แบบไม่เป็นอิสระ
ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบการสอนโดยใช้เทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรีขนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
มี 4 องค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ 1) ทฤษฎี/หลักการแนวคิด 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการสอน 3) กระบวนการสอนของรูปแบบ และ 4) ผลที่นักเรียนจะ ได้รับจากการสอนของรูปแบบ
2. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรีขนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คะแนนทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย 11.47 (S.D.=3.38) และคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย
20.02 (S.D.= 3.50) คะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0
คำสำคัญ : รูปแบบการสอน เทคนิคการสอนอ่านแบบ SQ4R ผังกราฟิก ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
บทคัดย่อ
The purposes of this research were to 1) to develop of an instructional model by using
the SQ4R reading technique with graphic organizers model to enhance English reading for comprehension ability of Mattayomsuksa 1students and 2) to compare the English reading for comprehension ability of Mattayomsuksa 1 students prior using and after using the SQ4R reading technique with graphic organizers model to enhance English reading for comprehension ability. The simple group included 38 samples for this research were Mattayomsuksa 1 students from Prayamonthaturadsripijit School. The research instruments involved 1)lesson plan and 2) English reading test for comprehension. The data were analyzed by mean (x), standard deviation (S.D.) and Paired Sample t-test for dependent samples. The results revealed the followings:
1. The instructional model by using the SQ4R reading technique with graphic organizers
model to enhance English reading for comprehension ability of Mattayomsuksa 1students consisted of 1) theory, principles, concept 2) purposes 3) syntax 4) learning outcomes 2. The English reading for comprehension ability prior lesson and after lesson indicated that Mattayomsuksa 1 students the test scores prior the class has the average 11.47 (S.D.=3.38) another, the test scores after the class has the average 20.02 (S.D.=3.50). The test scores after the class is higher than prior the class by statistically significant at the 0.1 level.
Keywords : Instructional Model, SQ4R Reading Technique, Graphic Organizer,
English Reading for Comprehension Ability
the SQ4R reading technique with graphic organizers model to enhance English reading for comprehension ability of Mattayomsuksa 1students and 2) to compare the English reading for comprehension ability of Mattayomsuksa 1 students prior using and after using the SQ4R reading technique with graphic organizers model to enhance English reading for comprehension ability. The simple group included 38 samples for this research were Mattayomsuksa 1 students from Prayamonthaturadsripijit School. The research instruments involved 1)lesson plan and 2) English reading test for comprehension. The data were analyzed by mean (x), standard deviation (S.D.) and Paired Sample t-test for dependent samples. The results revealed the followings:
1. The instructional model by using the SQ4R reading technique with graphic organizers
model to enhance English reading for comprehension ability of Mattayomsuksa 1students consisted of 1) theory, principles, concept 2) purposes 3) syntax 4) learning outcomes 2. The English reading for comprehension ability prior lesson and after lesson indicated that Mattayomsuksa 1 students the test scores prior the class has the average 11.47 (S.D.=3.38) another, the test scores after the class has the average 20.02 (S.D.=3.50). The test scores after the class is higher than prior the class by statistically significant at the 0.1 level.
Keywords : Instructional Model, SQ4R Reading Technique, Graphic Organizer,
English Reading for Comprehension Ability
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
บังอร เสรีรัตน์
พัชรีภรณ์ บางเขียว
อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2564
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2565-12-27
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2565-12-27
วันที่เผยแพร่
2565-12-27
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 373 ส731ก 2564
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาตรมหาบ้ณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สิริญา พรมบุตร .การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 23, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/2561