ชุมชน กุฎีจีน ได้ชื่อมาจากศาลเจ้าจีน ไม่ใช่เพราะเคยมีภิกษุจีนจำพรรษาอยู่
Item
ชื่อเรื่อง
ชุมชน กุฎีจีน ได้ชื่อมาจากศาลเจ้าจีน ไม่ใช่เพราะเคยมีภิกษุจีนจำพรรษาอยู่
ประเภท
บทความ
ผู้แต่ง
ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ
วันที่
2566-06-15
รายละเอียด
เล่าต่อๆ กันมา โดยหาต้นตอไม่ได้ว่าใครเป็นคนเริ่มต้นเล่าเรื่องขึ้นมาว่าชุมชน กุฎีจีน" หรือหรือที่ที่เรียก เรียกเป็นภาษาปากสั้นๆ ว่า "กะดีจีน" ที่ตั้งอยู่ระหว่างโบสถ์ซางตาครู้ส และวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ย่านฝั่งธนบุรี กรุงเทพฯ นั้นมีชื่อบ้านนามเมืองมาจากการที่เคยมีพระภิกษุสงฆ์ชาวจีนเข้ามาพำนักอาศัยอยู่ ก็เลยเรียกว่าบ้านกุฎีจีน คือหมู่บ้านที่มีกุฏิของพระภิกษุจีนตั้งอยู่
เรื่องเล่าข้างต้นนี้ยังมีรายละเอียดที่ต่างกันไปในแต่ละสำนวนบ้างก็ว่าเรื่องราวเกิดขึ้นในยุคกรุงธนบุรี บ้างก็ว่าเป็นช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ภิกษุจีนเข้ามาช่วงรัชกาลที่ 1 บ้าง รัชกาลที่ 2 บ้าง บางสำนวนก็ระบุว่า พระสงฆ์จีนที่จำพรรษาอยู่ที่นี่มีจำนวนทั้งหมด 2 รูป แต่ทั้งหมดนั้นก็ไม่มีหลักฐานเอกสารอะไรมายืนยันได้ชัด? สิ่งที่น่าสนใจใจก็ก็คือ คือจากจา หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของไทยนั้น "วัด" ในพระพุทธศาสนาแบบจีนนั้น เพิ่งจะมีการริเริ่มสร้างขึ้นในยุคปลายแผ่นดินของรัชกาลที่ 5 เท่านั้น ไม่มีหลักฐานของการสร้างวัดจีนในไทยช่วงยุคก่อนหน้านี้ ไม่ว่าจะเป็นยุคกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี หรือแม้กระทั่งยุคต้นกรุงเทพฯ เลยสักนิด แถมวัดแห่งแรกดังกล่าวที่ว่านี้ก็คือ วัดมังกรกมลาวาส หรือวัดเล่งเน่ยยี่ ซึ่งอยู่ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ย่านเยาวราช ที่อีกฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยาอีกต่างหาก
ที่มา : ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ. (30 ธันวาคม 2565-5 มกราคม 2566). ชุมชน 'กุฎีจีน' ได้ชื่อมาจากศาลเจ้าจีน ไม่ใช่เพราะเคยมีภิกษุจีนจำพรรษาอยู่. มติชนสุดสัปดาห์. 76.
เรื่องเล่าข้างต้นนี้ยังมีรายละเอียดที่ต่างกันไปในแต่ละสำนวนบ้างก็ว่าเรื่องราวเกิดขึ้นในยุคกรุงธนบุรี บ้างก็ว่าเป็นช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ภิกษุจีนเข้ามาช่วงรัชกาลที่ 1 บ้าง รัชกาลที่ 2 บ้าง บางสำนวนก็ระบุว่า พระสงฆ์จีนที่จำพรรษาอยู่ที่นี่มีจำนวนทั้งหมด 2 รูป แต่ทั้งหมดนั้นก็ไม่มีหลักฐานเอกสารอะไรมายืนยันได้ชัด? สิ่งที่น่าสนใจใจก็ก็คือ คือจากจา หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของไทยนั้น "วัด" ในพระพุทธศาสนาแบบจีนนั้น เพิ่งจะมีการริเริ่มสร้างขึ้นในยุคปลายแผ่นดินของรัชกาลที่ 5 เท่านั้น ไม่มีหลักฐานของการสร้างวัดจีนในไทยช่วงยุคก่อนหน้านี้ ไม่ว่าจะเป็นยุคกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี หรือแม้กระทั่งยุคต้นกรุงเทพฯ เลยสักนิด แถมวัดแห่งแรกดังกล่าวที่ว่านี้ก็คือ วัดมังกรกมลาวาส หรือวัดเล่งเน่ยยี่ ซึ่งอยู่ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ย่านเยาวราช ที่อีกฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยาอีกต่างหาก
ที่มา : ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ. (30 ธันวาคม 2565-5 มกราคม 2566). ชุมชน 'กุฎีจีน' ได้ชื่อมาจากศาลเจ้าจีน ไม่ใช่เพราะเคยมีภิกษุจีนจำพรรษาอยู่. มติชนสุดสัปดาห์. 76.
รูปแบบ
application/pdf
ภาษา
tha
สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวเรื่อง
ชุมชนกุฎีจีน
ศาลเทียนอันเกง
มัสยิดกุฎีขาว
มัสยิดกุฎีหลวง
แหล่งชุมชน
คอลเลกชั่น
ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ .ชุมชน กุฎีจีน ได้ชื่อมาจากศาลเจ้าจีน ไม่ใช่เพราะเคยมีภิกษุจีนจำพรรษาอยู่. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 23, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/2670