ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ โดยใช้การสอนรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD
Item
ชื่อเรือง
ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ โดยใช้การสอนรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD
ชื่อเรื่องรอง
The Analytical Thinking Ability of Mathayomsuksa 1 Students Santa Cruz Convent School by Using the 5E Learning Cycle Approach in Combination with STAD Cooperative Learning Method
ผู้แต่ง
ปัญญดา จันทร์สมุทร
หัวเรื่อง
ความคิดวิเคราะห์
รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ I โดยใช้การสอนรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิ STAD และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้การสอนรูปแบบวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6 จำนวน 26 คน ได้มาโดยวิธีการเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทสอบ และ 3) แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่า t - test for Dependent sample
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การสอนรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้การสอนรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD โดยรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
คำสำคัญ : ความคิดวิเคราะห์ รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ชั้น (5E) STAD
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การสอนรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้การสอนรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD โดยรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
คำสำคัญ : ความคิดวิเคราะห์ รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ชั้น (5E) STAD
บทคัดย่อ
The objectives of this research were to: 1) compare analytical thinking ability of Mathayomsuksa 1 students between before and after school by using the 5-step quest for knowledge cyce (5E) model and cooperative learning with STAD techniques and 2) study the satisfaction of Mathayomsuksa 1 students towards learning by using the 5-step quest-knowledge cycle (5E) teaching model and collaborative learning with STAD technique. The samples used in the research were the Mathayornsuksa1/6 students of Santa Cruz Convent, obtained by a specific sampling method.
The tools used in the research were
1) the leaming management plan 2) the test and
3) the questionnaire. The statistics used in the research were Mean (X), Standard deviation (S.D.) and t - test for dependent sample.
The results showed that:
1. The Analytical thinking ability of Mathayomsuksa 1 students by Using a 5 stage quest for knowledge cycle model (5E) and the cooperative learning with STAD technique after school was
significantly higher than before schod at the .05 level.
2. The overall satisfaction of Mathayomsuksa 1 students tawards leaming by using the 5 step quest-knowledge cycle (5E) teaching model combined with collaborative learning with STAD technique was overall.
Keywords: Analytical thinking ability, 5-step cycle, STAD
The tools used in the research were
1) the leaming management plan 2) the test and
3) the questionnaire. The statistics used in the research were Mean (X), Standard deviation (S.D.) and t - test for dependent sample.
The results showed that:
1. The Analytical thinking ability of Mathayomsuksa 1 students by Using a 5 stage quest for knowledge cycle model (5E) and the cooperative learning with STAD technique after school was
significantly higher than before schod at the .05 level.
2. The overall satisfaction of Mathayomsuksa 1 students tawards leaming by using the 5 step quest-knowledge cycle (5E) teaching model combined with collaborative learning with STAD technique was overall.
Keywords: Analytical thinking ability, 5-step cycle, STAD
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด
จิตตวิสุทธิ์ วิมุตติปัญญา
วรรณภร ศิริพละ
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2563
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2566-09-28
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2566-09-28
วันที่เผยแพร่
2566-09-28
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 371.39 ป524ค 2565
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คอลเลกชั่น
ปัญญดา จันทร์สมุทร .ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ โดยใช้การสอนรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 23, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/2734