วัดพุทธบูชา
Item
ชื่อเรื่อง
วัดพุทธบูชา
วันที่
2566-12-27
รายละเอียด
ประวัติวัดพุทธบูชา
สร้างขึ้นโดยความดำริของท่านเจ้าอาวาสรูปแรก(พระพุทธวิริยากร) เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ มีลักษณะเป็นยักษ์ ๒ ตน แบกป้ายชื่อวัดไว้ตนละข้าง มีผู้บริจาคในการก่อสร้าง คือ นายตอง-นางบุนนาค ปั่นแก้ว บริจาคทรัพย์ในการสร้างด้านขวา (ทิศใต้) และ นายทองหล่อ-นางชูศรี ตันเปาว์ บริจาคทรัพย์ในการสร้างด้านซ้าย (ทิศเหนือ) ราคาค่าก่อสร้างด้านละ ๓๑๕,๐๐๐ บาท และการสร้างในส่วนที่ไม่ใช่งานประดับตกแต่งด้วยฝีมือ เช่น ผูกเหล็ก เทคานปูน และเทปูนขึ้น รูปยักษ์ เป็นต้น ได้อาศัยแรงงานของพระภิกษุสามเณรในวัด ซึ่งทราบจาก คำบอกเล่าของท่านพระครูศีลคุณากร (ดวงจันทร์) ท่านอดีตเจ้าอาวาสวัดเม็งรายมหาราช จ.เชียงราย ได้เล่าให้พระครูฯฟังว่า สาเหตุที่สร้างป้ายวัดเป็นรูปยักษ์ ๒ ตน ยืนแบกป้ายชื่อวัดนั้น ก็เพื่อไว้เป็น “ปริศนาธรรม” ซึ่งเปรียบเหมือนคนเราต้องแบกภาระ คือ ขันธ์ ๕ ไว้ตลอดเวลา
ที่มา : วัดพุทธบูชา.(2023).https://watphut.blogspot.com/p/blog-page_12.html
สร้างขึ้นโดยความดำริของท่านเจ้าอาวาสรูปแรก(พระพุทธวิริยากร) เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ มีลักษณะเป็นยักษ์ ๒ ตน แบกป้ายชื่อวัดไว้ตนละข้าง มีผู้บริจาคในการก่อสร้าง คือ นายตอง-นางบุนนาค ปั่นแก้ว บริจาคทรัพย์ในการสร้างด้านขวา (ทิศใต้) และ นายทองหล่อ-นางชูศรี ตันเปาว์ บริจาคทรัพย์ในการสร้างด้านซ้าย (ทิศเหนือ) ราคาค่าก่อสร้างด้านละ ๓๑๕,๐๐๐ บาท และการสร้างในส่วนที่ไม่ใช่งานประดับตกแต่งด้วยฝีมือ เช่น ผูกเหล็ก เทคานปูน และเทปูนขึ้น รูปยักษ์ เป็นต้น ได้อาศัยแรงงานของพระภิกษุสามเณรในวัด ซึ่งทราบจาก คำบอกเล่าของท่านพระครูศีลคุณากร (ดวงจันทร์) ท่านอดีตเจ้าอาวาสวัดเม็งรายมหาราช จ.เชียงราย ได้เล่าให้พระครูฯฟังว่า สาเหตุที่สร้างป้ายวัดเป็นรูปยักษ์ ๒ ตน ยืนแบกป้ายชื่อวัดนั้น ก็เพื่อไว้เป็น “ปริศนาธรรม” ซึ่งเปรียบเหมือนคนเราต้องแบกภาระ คือ ขันธ์ ๕ ไว้ตลอดเวลา
ที่มา : วัดพุทธบูชา.(2023).https://watphut.blogspot.com/p/blog-page_12.html
รูปแบบ
application/pdf
ภาษา
tha
สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวเรื่อง
วัดพุทธบูชา
บางมด
รูปหล่อหลวงพ่อเพิ่ม กตปุญฺโญ
ศาสนาสถาน
คอลเลกชั่น
วัดพุทธบูชา. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 23, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/2809