การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
Item
ชื่อเรือง
การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
ชื่อเรื่องรอง
Study of optimal condition for wastewater treatment of eloctronic factory
ผู้แต่ง
อิสวัต แสงมณี
หัวเรื่อง
น้ำเสีย -- การบำบัด
น้ำเสีย -- การวิเคราะห์
โรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
รายละเอียดอื่นๆ
การศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้กระบวนการทางเคมีและชีวภาพ น้ำเสียจากโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์มีน้ำเสียจาก 2 แหล่งคือ น้ำเสียจากกระบวนการผลิตที่มีอัตราการไหล 240 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และน้ำเสียจากโรงอาหารและสำนักงานที่มีอัตราการไหล 90 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน เมื่อนำน้ำเสียจากกระบวนการผลิตมาวิเคราะห์คุณภาพน้ำเสียก่อนการทดลอง และทำการทดลองตกตะกอนทางเคมีด้วยสาร A1 (SO) และสาร Bentonite เข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร ในอัตราส่วนต่างๆ โดยใช้สาร Anionic Polymer เข้มข้นร้อยละ 0.05 โดยมวลต่อปริมาตรเป็นสารช่วยในการตกตะกอน แล้วทิ้งให้ตกตะกอนเป็นเวลา 25 นาที ผลการทดลองปรากฏว่าสาร Bentonite ที่อัตราส่วน 1:2 เข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร ปริมาตร 9 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อน้ำตัวอย่าง 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร และใช้สาร Anionic Polymer เข้มข้นร้อยละ 0.05 โดยมวลต่อปริมาตร ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อน้ำตัวอย่าง 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร สามารถลด BOD, COD, TKN , Total Fe และ O/G ได้ลดลงเหลือ 7.81 มิลลิกรัมต่อลิตร , 100.00 มิลลิกรัมต่อลิตร , 2.9 มิลลิกรัมต่อลิตร. 0.31 มิลลิกรัมต่อลิตร, 0.30 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 0.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ คิดเป็นประสิทธิภาพในการกำจัด BOD, COD, TKN , Total Fe และ O/G ได้ร้อยละ 98.06, 93.67, 65.29, 73.96, 63.21 และ100.00 ตามลำดับ ซึ่งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่ได้วิเคราะห์ มีค่าต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมจึงสามารถปล่อยทิ้งออกนอกโรงงานได้
ส่วนน้ำเสียจากโรงอาหารและสำนักงาน เมื่อนำไปทดลองบำบัดด้วยกระบวนการทางชีวภาพ โดยใช้ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR ในถังจำลองขนาด 20 ลิตร โดยกำหนดค่าอาหารต่อจุลินทรีย์ (F/M ratio) เท่ากับ 0.15, 0.2, 0.25 ตามลำดับ เพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเติมอากาศ จากผลการทดลองพบว่า F/M ratio เท่ากับ 0.2 และระยะเวลาการเติมอากาศ 2 ชั่วโมงเหมาะสมที่สุดสามารถบำบัด BOD, COD, TKN, Total Po , Total Fe และ O/G ได้ลดลงเหลือ 13.80 มิลลิกรัมต่อลิตร, 39.34 มิลลิกรัมต่อลิตร , 11.00 มิลลิกรัมต่อลิตร. 0.39 มิลลิกรัมต่อลิตร, 0.28 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 0.48 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ คิดเป็นประสิทธิภาพในการบำบัด BOD, COD, TKN, Total Po , Total Fe และ O/G ได้ร้อยละ 95.63 , 88.51, 30.38, 94.42, 92.61 และ 96.60 ตามลำดับ ซึ่งคุณภาพน้ำหลังการบำบัดมีค่าผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม สามารถปล่อยทิ้งออกนอกโรงงานได้
ส่วนน้ำเสียจากโรงอาหารและสำนักงาน เมื่อนำไปทดลองบำบัดด้วยกระบวนการทางชีวภาพ โดยใช้ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR ในถังจำลองขนาด 20 ลิตร โดยกำหนดค่าอาหารต่อจุลินทรีย์ (F/M ratio) เท่ากับ 0.15, 0.2, 0.25 ตามลำดับ เพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเติมอากาศ จากผลการทดลองพบว่า F/M ratio เท่ากับ 0.2 และระยะเวลาการเติมอากาศ 2 ชั่วโมงเหมาะสมที่สุดสามารถบำบัด BOD, COD, TKN, Total Po , Total Fe และ O/G ได้ลดลงเหลือ 13.80 มิลลิกรัมต่อลิตร, 39.34 มิลลิกรัมต่อลิตร , 11.00 มิลลิกรัมต่อลิตร. 0.39 มิลลิกรัมต่อลิตร, 0.28 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 0.48 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ คิดเป็นประสิทธิภาพในการบำบัด BOD, COD, TKN, Total Po , Total Fe และ O/G ได้ร้อยละ 95.63 , 88.51, 30.38, 94.42, 92.61 และ 96.60 ตามลำดับ ซึ่งคุณภาพน้ำหลังการบำบัดมีค่าผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม สามารถปล่อยทิ้งออกนอกโรงงานได้
บทคัดย่อ
The purpose of this research was to study the optimal condition for wastewater treatment of an electronic factory by chemical and biological process. There were two sources of wastewater. The first one was from manufacturing process treated by chemical coagulation with the flow rate of 240 m/d. In this experiment, 10%w/y A (SO, and 10%w/v Bentonite : A (SO) were used as coagulants in various ratios and quantities, and 0.05%w/v anionic polymer was used as coagulation aid in various quantities. Time was varied from 0 to 30 minutes in coagulation. The quantity analysis of wastewater composed of BOD, COD, TKN, Total PO , Total Fe, and O/G. The results showed that the best coagulation was 10%w/v Bentonite: Al (SO) in 1:2 ratio with the amount of 9 ml/400 ml of wastewater and the best coagulation aid was 0.05%w/v anionic polymer with amount of 1 ml/400 ml of wastewater at 25 minutes. BOD, COD, TKN, Total PO , Total Fe, and O/G were reduced to 7.81 mg/1, 100.00 mg/1, 2.95 mg/1, 0.31 mg/1, 0.30 mg/l, and 0.00 mg/l, respectively and removal efficiencies were 98.06%, 93.67%, 65.29%, 73.96%, 63.21%, and 100.00% respectively. The treated wastewater was well below the standard limit, hence, it can be discharged from the factory.
The second source was from the canteen and office treated by Sequencing Batch Reactor (SBR) with the flow rate of 90 m/d. In the experiment, F/M ratio was investigated at 0.15, 0.20 and 0.25, and the periods of the aeration time were varied to compare the efficiency of wastewater treatment. The results demonstrated that the best condition was F/M ratio at 0.2 and the most efficient aeration time is about 2 hrs. BOD, COD, TKN, Total PO , Total Fe, and O/G were lowered to 13.80 mg/, 39.34 mg/, 11.00 mg/l, 0.39 mg/l, 0.28 mg/l, and 0.48 mg/l, respectively and removal efficiency were 95.63%, 88.51%, 30.38%,94.42%, 92.61%, and 96.60%, respectively. The treated wastewater was under the standard limit, therefore, the wastewater can be discharged from the factory.
The second source was from the canteen and office treated by Sequencing Batch Reactor (SBR) with the flow rate of 90 m/d. In the experiment, F/M ratio was investigated at 0.15, 0.20 and 0.25, and the periods of the aeration time were varied to compare the efficiency of wastewater treatment. The results demonstrated that the best condition was F/M ratio at 0.2 and the most efficient aeration time is about 2 hrs. BOD, COD, TKN, Total PO , Total Fe, and O/G were lowered to 13.80 mg/, 39.34 mg/, 11.00 mg/l, 0.39 mg/l, 0.28 mg/l, and 0.48 mg/l, respectively and removal efficiency were 95.63%, 88.51%, 30.38%,94.42%, 92.61%, and 96.60%, respectively. The treated wastewater was under the standard limit, therefore, the wastewater can be discharged from the factory.
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
กรกฎ เพ็ชร์หัสณะโยธิน
อัจฉรา แก้วน้อย
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2551
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2566-11-08
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2566-11-08
วันที่เผยแพร่
2566-11-08
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 628.16 อ765ก 2551
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต
ปริญญาโท
สาขาเคมี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
อิสวัต แสงมณี, “การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2551, คลังข้อมูลวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed November 23, 2024, http://202.29.54.157/s/research/item/2763