ผลของการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมต่อความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็ก
Item
ชื่อเรือง
ผลของการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมต่อความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็ก
ชื่อเรื่องรอง
The effects of the rational emotive behavior group counseling to the stress In the work teachers child care center
ผู้แต่ง
เวณุกา ทัศนภักดี
หัวเรื่อง
ครู -- การทำงาน
ครู -- ความเครียดในการทำงาน
ทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม
ความเครียดในการทำงาน
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเครียดในการ
ทำงานของครูศูนย์เด็กเล็กกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรมระหว่างหลังการทดลอง และเปรียบเทียบความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็กระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรมและกลุ่มควบคุมไม่ได้รับการให้การปรึกษากลุ่ม หลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูศูนย์เด็กเล็กวิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัยในพระราชูปถัมภ์ จังหวัดนครปฐม จำนวนทั้งหมด 16 คน ใช้วิธีการจับคู่(Match pair) แบ่งเป็น กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษากลุ่มและกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดความเครียดในการทำงาน ความตรงเชิงเนื้อหามีค่า 0.67 - 1.00 ค่าความเชื่อมั่น 0.945 และการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม ดัชนีความสอดคล้องมีค่า 0.67 - 1.00 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติ บรรยาย ได้แก่ ค่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความเครียดในการทำงาน ใช้สถิติ Paired - sample t test และเปรียบเทียบความเครียดในการทำงานระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้สถิติ t - test independent
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็กฯ กลุ่มทดลองหลังได้รับการให้การปรึกษากลุ่มต่ำกว่าก่อนให้การปรึกษากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็ก ฯ กลุ่มทดลองหลังได้รับการปรึกษากลุ่มลดลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
คำสำคัญ : ครูศูนย์เด็กเล็ก ความเครียดในการทำงาน การให้คำปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์ และพฤติกรรม
ทำงานของครูศูนย์เด็กเล็กกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรมระหว่างหลังการทดลอง และเปรียบเทียบความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็กระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรมและกลุ่มควบคุมไม่ได้รับการให้การปรึกษากลุ่ม หลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูศูนย์เด็กเล็กวิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัยในพระราชูปถัมภ์ จังหวัดนครปฐม จำนวนทั้งหมด 16 คน ใช้วิธีการจับคู่(Match pair) แบ่งเป็น กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับการให้การปรึกษากลุ่มและกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดความเครียดในการทำงาน ความตรงเชิงเนื้อหามีค่า 0.67 - 1.00 ค่าความเชื่อมั่น 0.945 และการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม ดัชนีความสอดคล้องมีค่า 0.67 - 1.00 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติ บรรยาย ได้แก่ ค่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความเครียดในการทำงาน ใช้สถิติ Paired - sample t test และเปรียบเทียบความเครียดในการทำงานระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้สถิติ t - test independent
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็กฯ กลุ่มทดลองหลังได้รับการให้การปรึกษากลุ่มต่ำกว่าก่อนให้การปรึกษากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็ก ฯ กลุ่มทดลองหลังได้รับการปรึกษากลุ่มลดลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
คำสำคัญ : ครูศูนย์เด็กเล็ก ความเครียดในการทำงาน การให้คำปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์ และพฤติกรรม
บทคัดย่อ
This research is a quasi - experimental research. The objectives were (1) to compare the work stress of experimental group child care center teachers who received group counseling based on reasoning theory. Rational Emotive Behavior Group Counseling between pre and post the experiment. (2) to compare the work stress of teachers in child care centers between the experimental groups who received theoretical group counseling. Rational Emotive Behavior Group Counseling and the control group did not receive group counseling. before the experiment and after the experiment. The sample group was teachers at the Sirindhorn Rajawittayalai Campus under the Royal Patronage of His Majesty the King Nakhon Pathom Province,with a total of 16 people. Using the match pair method, divided into the
experimental group and the control group. The experimental group received group
counseling and the control group received regular care. The research tool was a
stress measurement at work. The content validity was 0.67-1.00 and the accuracy
was 0.945. and group counseling programs based on reasoning theory. Rational
Emotive Behavior The consistency index was 0.67 - 1.00. Quantitative data analysis
used descriptive statistics such as percentage, mean, standard deviation. Paired-
sample t-test was used to compare work stress and work stress was compared
between the experimental group and the control group using independent t-test.
The key findings are summarized below. 1. Stress in the work of teachers at the child
care center The experimental group after receiving group counseling decreased
before group counseling at a statistical significance at the .05 level. The experimental
group after receiving the counseling group was significantly lower than the control
group at the .05 level.
Keywords: Teachers of Child Care Centers, Stress at work, Rational Emotive
Behavior Group Counseling
experimental group and the control group. The experimental group received group
counseling and the control group received regular care. The research tool was a
stress measurement at work. The content validity was 0.67-1.00 and the accuracy
was 0.945. and group counseling programs based on reasoning theory. Rational
Emotive Behavior The consistency index was 0.67 - 1.00. Quantitative data analysis
used descriptive statistics such as percentage, mean, standard deviation. Paired-
sample t-test was used to compare work stress and work stress was compared
between the experimental group and the control group using independent t-test.
The key findings are summarized below. 1. Stress in the work of teachers at the child
care center The experimental group after receiving group counseling decreased
before group counseling at a statistical significance at the .05 level. The experimental
group after receiving the counseling group was significantly lower than the control
group at the .05 level.
Keywords: Teachers of Child Care Centers, Stress at work, Rational Emotive
Behavior Group Counseling
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา สุทธิเนียม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลพร กองคำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูวิทย์ รัตนพลแสนย์
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2565
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2567-05-28
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2567-05-28
วันที่เผยแพร่
2567-05-28
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 372.12 ว896ผ 2565
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Degree (name, level, descipline, grantor)
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต
ปริญญาโท
จิตวิทยาการปรึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คอลเลกชั่น
เวณุกา ทัศนภักดี, “ผลของการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมต่อความเครียดในการทำงานของครูศูนย์เด็กเล็ก”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2565, คลังข้อมูลวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed November 23, 2024, http://202.29.54.157/s/research/item/2928