การพัฒนารูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนารูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชื่อเรื่องรอง
The Development of Instuctional Model based on Constructionism Theory to Promote Creativity for Grade 5 Students
ผู้แต่ง
วีระชัย พิทักษ์ไพศาลภากร
หัวเรื่อง
การพัฒนารูปแบบการสอน
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
ความคิดสร้างสรรค์
การสร้างความรู้
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนวัดยานนาวา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้และแบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที
ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีองค์ประกอบที่สำคัญของรูปแบบการสอน ได้แก่ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดของรูปแบบ, วัตถุประสงค์ของรูปแบบ, กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ, ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนการสอนตามรูปแบบ
2. ผลการเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อน เรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ ชิ้นงาน พบว่านักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
คำสำคัญ : การพัฒนารูปแบบการสอน การสร้างความรู้ความคิดสร้างสรรค์
1) เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนวัดยานนาวา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้และแบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที
ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีองค์ประกอบที่สำคัญของรูปแบบการสอน ได้แก่ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดของรูปแบบ, วัตถุประสงค์ของรูปแบบ, กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ, ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนการสอนตามรูปแบบ
2. ผลการเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อน เรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ ชิ้นงาน พบว่านักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
คำสำคัญ : การพัฒนารูปแบบการสอน การสร้างความรู้ความคิดสร้างสรรค์
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
พัชรีภรณ์ บางเขียว
บังอร เสรีรัตน์
เพ็ญพร ทองคำสุก
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2565
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2567-10-11
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2567-10-11
วันที่เผยแพร่
2567-10-11
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 372.3 ว844ก 2565
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คอลเลกชั่น
วีระชัย พิทักษ์ไพศาลภากร, “การพัฒนารูปแบบการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2565, คลังข้อมูลวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed November 22, 2024, http://202.29.54.157/s/research/item/3157