การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กับการสอนแบบ Backward design เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สายสามัญ โรงเรียนสารสาส์สวิเทศบางบอน
Item
ชื่อเรือง
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กับการสอนแบบ Backward design เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สายสามัญ โรงเรียนสารสาส์สวิเทศบางบอน
ชื่อเรื่องรอง
The causal factors affectiveness of the programs at Rajabhat Universities in Bangkok
ผู้แต่ง
ทัศนัย เพ็ญสิทธิ์
หัวเรื่อง
ดนตรี--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
การสอนแบบ Backward Design
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กับการสอนแบบ Backward Design เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สายสามัญ โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ บางบอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 จำนวน 30 คน เป็นกลุ่มทดลองที่ 1 เรียนโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD และ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/6 จำนวน 30 คน เป็นกลุ่มทดลองที่ 2 เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD จำนวน 3 แผน 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design จำนวน 3 แผน และ 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t – test independent ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
คำสำคัญ : การสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD, การสอนแบบ Backward Design
คำสำคัญ : การสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD, การสอนแบบ Backward Design
บทคัดย่อ
The purpose of this research was to compare learning achievements between using STAD cooperative learning and using backward design approach on music instruments for Minibilingual Program Prathomsuksa 5 Students at Sarasas Witaed Bangbon. The sample group included two groups of students: the anterior were 30 Pratomsuksa 5/3 students for STAD cooperative learning and the second of the two were 30 Prathomsuksa 5/6 students for backward design. The research instruments consisted of 1) 3 STAD cooperative learning-based lesson plans 2) 3 backward design approach -based lesson plans and 3) achievement test. Data was statistically analyzed in mean, standard deviation, and t-test independent.
The findings revealed that learning achievements of those who learned through STAD cooperative learning were higher than those of the students who learned through backward design approach significantly (p<0.05).
Keywords: STAD Cooperative Learning, Backward Design Approach
The findings revealed that learning achievements of those who learned through STAD cooperative learning were higher than those of the students who learned through backward design approach significantly (p<0.05).
Keywords: STAD Cooperative Learning, Backward Design Approach
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
มนัส วัฒนไชยยศ
บรรจง ชลวิโรจน์
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2556
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 372.87 ท362ก 2556
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
ดนตรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2556
คอลเลกชั่น
ทัศนัย เพ็ญสิทธิ์ . (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กับการสอนแบบ Backward design เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สายสามัญ โรงเรียนสารสาส์สวิเทศบางบอน. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 25, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1372