จิตรกรรมภาพทิวทัศน์ลัทธิประทับใจแบบปอล เซซานระหว่างปี ค.ศ. 1880 - 1906
Item
ชื่อเรือง
จิตรกรรมภาพทิวทัศน์ลัทธิประทับใจแบบปอล เซซานระหว่างปี ค.ศ. 1880 - 1906
ชื่อเรื่องรอง
Impressionistic Landscape Paintings : Paul Cezanne’s Style From 1880-1906
ผู้แต่ง
ทวีสิทธิ์ วงศ์ฤทธิ์เดชากิจ
หัวเรื่อง
จิตรกรรมภาพทิวทัศน์
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษางานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์ลัทธิประทับใจแบบปอล เซซาน ระหว่างปี ค.ศ. 1880 - 1906 ในด้านการตัดทอนรูปทรงจากธรรมชาติ รูปแบบการจัดภาพ และวิธีการระบายสี และ 2) สร้างสรรค์งานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์เนื้อหาภูเขา บรรยากาศ ตามบริบทของสังคมไทย ลัทธิประทับใจ แบบปอล เซซาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผลงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์บกแสดงบรรยากาศภูเขา ลัทธิประทับใจแบบปอล เซซาน จำนวน 7 ภาพ และแบบสัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เทคนิคเดลฟายประยุกต์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา
ผลการวิจัยพบว่า
1. จิตรกรรมภาพทิวทัศน์ฯ ในด้านลักษณะการตัดทอนรูปทรงจากธรรมชาติ พบว่า มีการเปลี่ยนรูปทรงให้เป็นรูปทรงเรขาคณิตโดยไม่เลียนแบบจากสิ่งที่เป็นจริง ใช้เส้นที่มีลักษณะไม่ซ้ำกันเพื่อให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหว และใช้สีต่างวรรณะ ในด้านรูปแบบการจัดภาพ พบว่า ใช้หลักความสมดุลแบบซ้ายขวาไม่เหมือนกันเป็นส่วนใหญ่ การจัดภาพแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ใช้ต้นไม้และทางเดินอยู่ในระยะหน้าและกลาง ภูเขาอยู่ระยะหลัง ในด้านวิธีการระบายสี พบว่า ระบายสีด้วยเทคนิค จุด ขีดเป็นแผ่นเล็ก แบน ซ้อนกัน ลงบนผืนผ้าใบเป็นรอยแปรงสั้นๆ เพื่อสร้างมิติและบรรยากาศ
2. การสร้างสรรค์งานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์ฯ ภาพทิวทัศน์ภูเขา มีการเปลี่ยนรูปทรงจากธรรมชาติจะไม่เลียนแบบจากสิ่งที่เป็นจริง ผู้วิจัยใช้เส้น สี และรูปทรงเรขาคณิต เป็นโครงสร้างของพื้นดิน ต้นไม้ ภูเขา และอื่นๆ มากกว่าการมุ่งเน้นรายละเอียด นอกจากนี้ ผู้วิจัยนำเส้นมาประกอบกับระนาบต่างๆ ทำให้เกิดระยะหน้า กลางและหลัง วิธีการระบายสีมีการทิ้งริ้วรอยของพู่กันสั้นๆ สร้างบรรยากาศของภาพเป็นช่วงเวลาต่างๆ ผลงานวิจัย ได้ผ่านการปรับปรุงมาเป็นลักษณะเฉพาะแสดงภูมิทัศน์ภูเขา และบรรยากาศแวดล้อมในประเทศไทย
คำสำคัญ: ภาพทิวทัศน์ลัทธิประทับใจแบบปอล เซซาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. จิตรกรรมภาพทิวทัศน์ฯ ในด้านลักษณะการตัดทอนรูปทรงจากธรรมชาติ พบว่า มีการเปลี่ยนรูปทรงให้เป็นรูปทรงเรขาคณิตโดยไม่เลียนแบบจากสิ่งที่เป็นจริง ใช้เส้นที่มีลักษณะไม่ซ้ำกันเพื่อให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหว และใช้สีต่างวรรณะ ในด้านรูปแบบการจัดภาพ พบว่า ใช้หลักความสมดุลแบบซ้ายขวาไม่เหมือนกันเป็นส่วนใหญ่ การจัดภาพแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ใช้ต้นไม้และทางเดินอยู่ในระยะหน้าและกลาง ภูเขาอยู่ระยะหลัง ในด้านวิธีการระบายสี พบว่า ระบายสีด้วยเทคนิค จุด ขีดเป็นแผ่นเล็ก แบน ซ้อนกัน ลงบนผืนผ้าใบเป็นรอยแปรงสั้นๆ เพื่อสร้างมิติและบรรยากาศ
2. การสร้างสรรค์งานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์ฯ ภาพทิวทัศน์ภูเขา มีการเปลี่ยนรูปทรงจากธรรมชาติจะไม่เลียนแบบจากสิ่งที่เป็นจริง ผู้วิจัยใช้เส้น สี และรูปทรงเรขาคณิต เป็นโครงสร้างของพื้นดิน ต้นไม้ ภูเขา และอื่นๆ มากกว่าการมุ่งเน้นรายละเอียด นอกจากนี้ ผู้วิจัยนำเส้นมาประกอบกับระนาบต่างๆ ทำให้เกิดระยะหน้า กลางและหลัง วิธีการระบายสีมีการทิ้งริ้วรอยของพู่กันสั้นๆ สร้างบรรยากาศของภาพเป็นช่วงเวลาต่างๆ ผลงานวิจัย ได้ผ่านการปรับปรุงมาเป็นลักษณะเฉพาะแสดงภูมิทัศน์ภูเขา และบรรยากาศแวดล้อมในประเทศไทย
คำสำคัญ: ภาพทิวทัศน์ลัทธิประทับใจแบบปอล เซซาน
บทคัดย่อ
The purposes of this research were 1) to study the impressionistic landscape paintings by Paul Cezanne during 1880-1906 AD. in the aspects of distortion forms of nature, composition and painting techniques and 2) to create impressionistic mountain painting in the style of Paul Cezanne. The research instruments involved the seven of Paul Cezanne’s paintings which depicted mountains landscape atmosphere and interview. Data were collected using Delphi Applied Technique, and were descriptively analyzed.
The findings revealed as follows.
1. It was found that the impressionistic landscape paintings created by Paul Cezanne regarding distortion forms of nature, form of the nature were changed into geometric shapes beyond authentic recognition; different lines were used to emphasize movement; and different tones of colours were adopted. For composition, asymmetry was mostly found – there were three distances: tree and paths were fixed in foreground and middle ground while mountains were usually served as background. As for painting techniques, stippling and dabbing layers techniques were employed, as well as shorten brushstrokes to create dimensions and atmosphere.
2. To create the aforementioned impressionistic landscape paintings in the context of Thai society, lines, colours and geometric forms were used as the structures of earth, trees, and mountains without rendering the details. In relation to the composition, line am planes were included to create dimensions of foreground, middle ground and background. Short brushstrokes were applied to create atmosphere of different times. This artwork was modified from these aspects for its own uniqueness through emphasis of mountains and surrounding atmosphere in Thailand.
Keywords : Impressionistic Landscape Painting in the style of Paul Cezanne
The findings revealed as follows.
1. It was found that the impressionistic landscape paintings created by Paul Cezanne regarding distortion forms of nature, form of the nature were changed into geometric shapes beyond authentic recognition; different lines were used to emphasize movement; and different tones of colours were adopted. For composition, asymmetry was mostly found – there were three distances: tree and paths were fixed in foreground and middle ground while mountains were usually served as background. As for painting techniques, stippling and dabbing layers techniques were employed, as well as shorten brushstrokes to create dimensions and atmosphere.
2. To create the aforementioned impressionistic landscape paintings in the context of Thai society, lines, colours and geometric forms were used as the structures of earth, trees, and mountains without rendering the details. In relation to the composition, line am planes were included to create dimensions of foreground, middle ground and background. Short brushstrokes were applied to create atmosphere of different times. This artwork was modified from these aspects for its own uniqueness through emphasis of mountains and surrounding atmosphere in Thailand.
Keywords : Impressionistic Landscape Painting in the style of Paul Cezanne
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
สมชาย พรหมสุวรรณ
พีระพงษ์ กุลพิศาล
โกสุม สายใจ
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2558
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 758.1 ท231จ 2558
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
ศิลปกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2558
คอลเลกชั่น
ทวีสิทธิ์ วงศ์ฤทธิ์เดชากิจ . (2558). จิตรกรรมภาพทิวทัศน์ลัทธิประทับใจแบบปอล เซซานระหว่างปี ค.ศ. 1880 - 1906. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 24, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1445