การพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษโดยการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคาเบรียลอุปถัมภ์
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษโดยการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคาเบรียลอุปถัมภ์
ชื่อเรื่องรอง
The Development of English Reading Comprehension through Group Dynamics Approachof Prathomsuksa 5 Students at Gabriel Upatham School
ผู้แต่ง
ใจทิพย์ เย็นสุข
หัวเรื่อง
ภาษาอังกฤษ -- คำศัพท์
การสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเที่ยบความสามารถการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกาเบรียลอุปถัมภ์ โดยการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนกาเบรียลอุปถัมภ์ จำนวน 40 กน โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ โดยการสอน แบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 และ 3) แบบสอบถามความพึงพอที่มีต่อการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ในการวิกราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีสำหรับ กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1 ความสามารถการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ มีระดับความสามารถการอ่านจับใจความ ภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ระดับความพึพอใจที่มีต่อการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
คำสำคัญ : การอ่านจับใจความ. การสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
คำสำคัญ : การอ่านจับใจความ. การสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
บทคัดย่อ
The purposes of this research were to 1) compare English reading comprehension of Prathomsuksa 5 students between before and after learning through group dynamics approach and 2) study students’ satisfaction towards learning through group dynamics approach. The sample included 40 Prathomsuksa 5/1 students from Gabriel Upatham School in the 1st semester of academic year 2017 obtained through simple random sampling. The research instruments involved 1) lesson plans 2) English reading comprehension test and 3) a set of questionnaire on students’ satisfaction. Data were statistically analyzed by mean, standard deviation, and t-test for one group sample. The findings revealed the followings : 1. The English reading comprehension of Prathomsuksa 5 students after the experiment was higher than that before the experiment at significance level.01. 2. The students’ satisfaction towards learning through group dynamics approach was generally found at the ‘Highest’ level.
Keywords: Reading Comprehension, Group Dynamics Approach
Keywords: Reading Comprehension, Group Dynamics Approach
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด
เพ็ญพร ทองคำสุก
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2562
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 371.102 จ931ก2562
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2562
คอลเลกชั่น
ใจทิพย์ เย็นสุข . (2562). การพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษโดยการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคาเบรียลอุปถัมภ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 24, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1563