การพัฒนาหลักสูตรจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดหัวกระบือ
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนาหลักสูตรจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดหัวกระบือ
ชื่อเรื่องรอง
THE DEVELOPMENT OF PUBLIC MIND CURRICULUM FOR ENVIRONMENTAL CONSERVATION AMONG GRADE 9 STUDENTS AT WAT HUA KRABUE SCHOOL
ผู้แต่ง
ดะรุณี จินดานิล
หัวเรื่อง
การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 2) เปรียบเทียบจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างก่อนและหลังการใช้หลักสูตรจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/โรงเรียนวัดหัว
กระบือสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร จำนวน 40 คน โดยวิธี สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบปรนัย 3 ตัวเลือก มีค่าความ ยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.45-0.79 มีค่าอำนาจจำแนก อยู่ระหว่าง 0.28-0.90 และมีค่าความเชื่อมั่น KR-20 เท่ากับ 0.58 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที่แบบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มไม่อิสระต่อกัน
ผลการวิจัยพบว่า
1. หลักสูตรจิตสาธารณะเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าหลักสูตรจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมีองค์ประกอบครบถ้วน ระดับมากที่สุด 2 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักการของหลักสูตรและด้านจุดมุ่งหมาย รองลงมาคือ ด้าน โครงสร้างเนื้อหาและเวลา ตามลำดับ
2. ผลการเปรียบเทียบจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวมแตกต่างกับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00 1 โดยหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน
คำสำคัญ : พัฒนาหลักสูตร, จิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
กระบือสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร จำนวน 40 คน โดยวิธี สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบปรนัย 3 ตัวเลือก มีค่าความ ยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.45-0.79 มีค่าอำนาจจำแนก อยู่ระหว่าง 0.28-0.90 และมีค่าความเชื่อมั่น KR-20 เท่ากับ 0.58 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที่แบบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มไม่อิสระต่อกัน
ผลการวิจัยพบว่า
1. หลักสูตรจิตสาธารณะเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าหลักสูตรจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมีองค์ประกอบครบถ้วน ระดับมากที่สุด 2 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักการของหลักสูตรและด้านจุดมุ่งหมาย รองลงมาคือ ด้าน โครงสร้างเนื้อหาและเวลา ตามลำดับ
2. ผลการเปรียบเทียบจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวมแตกต่างกับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00 1 โดยหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน
คำสำคัญ : พัฒนาหลักสูตร, จิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
เพ็ญพร ทองคำสุข
วิเชียร อิททรสมพันนธ์
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2562
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 375 ด291ก 2562
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
หลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2562
คอลเลกชั่น
ดะรุณี จินดานิล . (2562). การพัฒนาหลักสูตรจิตสาธารณะเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดหัวกระบือ. มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 24, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1598