การพัฒนาตำรับเจลต้านเชื้อแบคทีเรียจากสารสกัดเถาเอ็นอ่อน
Item
ชื่อเรือง
การพัฒนาตำรับเจลต้านเชื้อแบคทีเรียจากสารสกัดเถาเอ็นอ่อน
ชื่อเรื่องรอง
Development of antibacterial gel from Cryptolepis buchanani Roem. & Schult
ผู้แต่ง
อรวรีว์ สลิตจำรูญศักดิ์
หัวเรื่อง
แบคทีเรีย
สารสกัดเถาเอ็นอ่อน
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดเถาเอ็นอ่อน และ2) พัฒนาผลิตภัณฑ์เจลต้านเชื้อแบคทีเรียจากสารสกัดเถาเอ็นอ่อน ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้นำเถาเอ็นอ่อนที่เก็บจากอำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู ไปตรวจสอบกับตัวอย่างพรรณไม้ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบว่าตรงกับตัวอย่างพรรณไม้หมายเลข MSU.PH-ASC-CB01 มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Cryptolepis buchanani Roem. & Schult. วงศ์ Asclepiadaceae ทำการสกัดส่วนลำต้นของเถาเอ็นอ่อนโดยการหมักในเอทานอลร้อยละ 50 นำสารสกัดหยาบที่ได้มาตรวจหากลุ่มสารพฤกษเคมีเบื้องต้นโดยใช้ปฏิกิริยาการเกิดสีหรือการเกิดตะกอน และทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียได้แก่ Staphylococcus aureus DMST 8840, Staphylococcus epidermidis DMST 15505, Methicillin Resistance Staphylococcus aureus DMST 20646 (MRSA) และ Streptococcus pyogenes DMST 15505 ของสารสกัดเถาเอ็นอ่อนโดยวิธี disk diffusion และวิธี broth microdilution ตั้งตำรับเจลต้านเชื้อแบคทีเรีย 4 ตำรับโดยใช้สารสกัดเถาเอ็นอ่อนในความเข้มข้นที่เหมาะสมก่อนศึกษาความคงตัวทางกายภาพของตำรับเจล ผลการวิจัยพบว่า 1. สารสกัดเถาเอ็นอ่อนมีกลุ่มสารพฤกษเคมี 5 กลุ่มได้แก่ Terpenoid, Flavonols, Saponin, Tannin และ Alkaloid ความเข้มข้นของสารสกัดเถาเอ็นอ่อนที่ทำให้เกิด inhibition zone และความเข้มข้นต่ำสุดที่ฆ่าเชื้อแบคทีเรียทั้ง 4 ชนิด มีค่ามากกว่า 250 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร 2. เมื่อนำเจลสารสกัดเถาเอ็นอ่อนทั้ง 4 ตำรับซึ่งใช้ carbopol 940 เป็นสารก่อเจล ใช้ glycerin หรือ propylene glycol เป็นสารให้ความชุ่มชื้น มาศึกษาความคงตัวโดยเก็บในที่ร้อนสลับเย็น 5 รอบ พบว่าเจลทั้ง 4 ตำรับมีค่า pH ใกล้เคียงกับผิวหนังโดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงของสี
คำสำคัญ : สารสกัดเถาเอ็นอ่อน, แบคทีเรีย, เจล
คำสำคัญ : สารสกัดเถาเอ็นอ่อน, แบคทีเรีย, เจล
บทคัดย่อ
This research aimed to study 1) anti - skin pathogenic bacteria activity of Cryptolepis buchanani Roem. & Schult. extract and 2) development antibacterial gel containing this extract. Cryptolepis buchanani Roem. & Schult. stem was collected from Sribunruang District, Nong Bua Lam Phu Province and detected the botanical name by comparing with herbarium namely MSU.PH-ASC-CB0 1 of Faculty of Pharmacy, Mahasarakham University. Cryptolepis buchanani Roem. & Schult. stem was extracted by maceration with 50 % ethanol.
The phytochemical compound groups in crude extract was determined by precipitation and color forming reaction. The antibacterial activity of crude extract was performed against Staphylococcus aureus DMST 8840, Staphylococcus epidermidis DMST 15505, MRSA DMST 20646 and Streptococus pyogenase by disk diffusion and broth microdilution methods. Four formulations of the gel containing crude extract was prepared and studied physical stability.
The finding revealed as follows:
1. The results revealed that Cryptolepis buchanani Roem. & Schult. Extract possessed 5 phytochemical compound groups namely Terpenoid, Flavonols, Saponin and Alkaloid. The extract concentration which showed inhibition zones and MIC values against the tested bacterial were more than 250 mg/ml.
2. Four formulations of the gel containing Cryptolepis buchanani Roem. & Schult. extract possessed carbopol 940 as gelling agent and either glycerin or propylene glycol as humectant. All of the gel possessed a similar pH as skin and did not change in color after 5freeze-thaw cycling.
Keywords: Cryptolepis buchanani Roem. & Schult., skin pathogen, bacteria, gel
The phytochemical compound groups in crude extract was determined by precipitation and color forming reaction. The antibacterial activity of crude extract was performed against Staphylococcus aureus DMST 8840, Staphylococcus epidermidis DMST 15505, MRSA DMST 20646 and Streptococus pyogenase by disk diffusion and broth microdilution methods. Four formulations of the gel containing crude extract was prepared and studied physical stability.
The finding revealed as follows:
1. The results revealed that Cryptolepis buchanani Roem. & Schult. Extract possessed 5 phytochemical compound groups namely Terpenoid, Flavonols, Saponin and Alkaloid. The extract concentration which showed inhibition zones and MIC values against the tested bacterial were more than 250 mg/ml.
2. Four formulations of the gel containing Cryptolepis buchanani Roem. & Schult. extract possessed carbopol 940 as gelling agent and either glycerin or propylene glycol as humectant. All of the gel possessed a similar pH as skin and did not change in color after 5freeze-thaw cycling.
Keywords: Cryptolepis buchanani Roem. & Schult., skin pathogen, bacteria, gel
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
ปิลันธนา เลิศสถิตธนกร
เธียร ธีระวรวงศ์
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2563
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2021-08-09 06:57:07
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2021-08-09 06:57:07
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
วน 615.32334 อ371ก 2563
ภาษา
tha
ลิขสิทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Degree (name, level, descipline, grantor)
การแพทย์แผนไทยมหาบัณฑิต
ปริญญาโท
เภสัชกรรมไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วันที่ใช้งาน
2563
คอลเลกชั่น
อรวรีว์ สลิตจำรูญศักดิ์ . (2563). การพัฒนาตำรับเจลต้านเชื้อแบคทีเรียจากสารสกัดเถาเอ็นอ่อน. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, คลังข้อมูลดิจิทัล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, accessed November 24, 2024, http://202.29.54.157/s/library/item/1607